Dataset Preview
Full Screen Viewer
Full Screen
The full dataset viewer is not available (click to read why). Only showing a preview of the rows.
The dataset generation failed
Error code: DatasetGenerationError Exception: TypeError Message: Couldn't cast array of type struct<A: string, B: string, C: string, C.: string, D: string, E: string> to {'A': Value(dtype='string', id=None), 'B': Value(dtype='string', id=None), 'C': Value(dtype='string', id=None), 'D': Value(dtype='string', id=None), 'E': Value(dtype='string', id=None)} Traceback: Traceback (most recent call last): File "/src/services/worker/.venv/lib/python3.9/site-packages/datasets/builder.py", line 2013, in _prepare_split_single writer.write_table(table) File "/src/services/worker/.venv/lib/python3.9/site-packages/datasets/arrow_writer.py", line 585, in write_table pa_table = table_cast(pa_table, self._schema) File "/src/services/worker/.venv/lib/python3.9/site-packages/datasets/table.py", line 2302, in table_cast return cast_table_to_schema(table, schema) File "/src/services/worker/.venv/lib/python3.9/site-packages/datasets/table.py", line 2261, in cast_table_to_schema arrays = [cast_array_to_feature(table[name], feature) for name, feature in features.items()] File "/src/services/worker/.venv/lib/python3.9/site-packages/datasets/table.py", line 2261, in <listcomp> arrays = [cast_array_to_feature(table[name], feature) for name, feature in features.items()] File "/src/services/worker/.venv/lib/python3.9/site-packages/datasets/table.py", line 1802, in wrapper return pa.chunked_array([func(chunk, *args, **kwargs) for chunk in array.chunks]) File "/src/services/worker/.venv/lib/python3.9/site-packages/datasets/table.py", line 1802, in <listcomp> return pa.chunked_array([func(chunk, *args, **kwargs) for chunk in array.chunks]) File "/src/services/worker/.venv/lib/python3.9/site-packages/datasets/table.py", line 2122, in cast_array_to_feature raise TypeError(f"Couldn't cast array of type\n{_short_str(array.type)}\nto\n{_short_str(feature)}") TypeError: Couldn't cast array of type struct<A: string, B: string, C: string, C.: string, D: string, E: string> to {'A': Value(dtype='string', id=None), 'B': Value(dtype='string', id=None), 'C': Value(dtype='string', id=None), 'D': Value(dtype='string', id=None), 'E': Value(dtype='string', id=None)} The above exception was the direct cause of the following exception: Traceback (most recent call last): File "/src/services/worker/src/worker/job_runners/config/parquet_and_info.py", line 1396, in compute_config_parquet_and_info_response parquet_operations = convert_to_parquet(builder) File "/src/services/worker/src/worker/job_runners/config/parquet_and_info.py", line 1045, in convert_to_parquet builder.download_and_prepare( File "/src/services/worker/.venv/lib/python3.9/site-packages/datasets/builder.py", line 1029, in download_and_prepare self._download_and_prepare( File "/src/services/worker/.venv/lib/python3.9/site-packages/datasets/builder.py", line 1124, in _download_and_prepare self._prepare_split(split_generator, **prepare_split_kwargs) File "/src/services/worker/.venv/lib/python3.9/site-packages/datasets/builder.py", line 1884, in _prepare_split for job_id, done, content in self._prepare_split_single( File "/src/services/worker/.venv/lib/python3.9/site-packages/datasets/builder.py", line 2040, in _prepare_split_single raise DatasetGenerationError("An error occurred while generating the dataset") from e datasets.exceptions.DatasetGenerationError: An error occurred while generating the dataset
Need help to make the dataset viewer work? Make sure to review how to configure the dataset viewer, and open a discussion for direct support.
No
int64 | Question
string | Choices
dict | Answer
string |
---|---|---|---|
1 | พิจารณาแผนภาพระดับพลังงานของอิเล็กตรอนในอะตอมของไฮโดรเจนดังนี้ (มีแผนภาพระดับพลังงานของอิเล็กตรอน) n เขียน E1ถึง E5 ที่ให้ E0 = 0 ในหน่วย 10^-21 kJ n = 5 E5 = -0.088 x 10^-21 kJ n = 4 E4 = -0.14 x 10^-21 kJ n = 3 E3 บอก E3 = -0.24 x 10^-21 kJ n = 2 E2 = -0.55 x 10^-21 kJ n = 1 E1 = -2.18 x 10^-21 kJ อะตอมไฮโดรเจนในสถานะพัน สามารถดูดกลืนแสงที่มีพลังงาน 1.80 x 10^-21 kJ ได้หรือไม่ เพราะเหตุใด | {
"A": "ได้ เพราะอิเล็กตรอนสามารถเปลี่ยนระดับพลังงานจากระดับ n = 2 ไป n = 3",
"B": " ไม่ได้ เพราะอะตอมไฮโดรเจนสามารถดูดกลืนพลังงานเท่าใดก็ได้",
"C": "ไม่ได้ เพราะ 1.80 x 10^-21 kJ คือพลังงานที่น้อยเกินกว่าที่จำทำให้อิเล็กตรอนหลุดออกจากอะตอมไฮโดรเจน",
"D": "ได้ เพราะ 1.80 x 10^-21 kj คือค่าให้พลังงานที่มีมากกว่าผลต่างของระดับพลังงานระหว่างสถานะพื้นกับระดับพลังงานที่ 2",
"E": "ไม่ได้ 1.80 x 10^-21 kj ไม่ใช่ค่าที่ตรงกับค่าผลต่างของระดับพลังงานระหว่างสถานะพื้นกับระดับพลังงานใด ๆ ของอะตอมไฮโดรเจน"
} | D |
2 | กำหนดข้อมูลดังนี้ อิเล็กตรอนในอะตอมที่สถานะพื้นจะอยู่ในออร์บิทัลที่ระดับพลังงานต่ำสุดที่เป็นไปได้เมื่ออะตอมได้รับพลังงานมากพอจะเปลี่ยนไปอยู่ในสถานะกระตุ้นโดยมีเวลาเพียงสั้น ๆ และเมื่ออิเล็กตรอนเปลี่ยนไปสู่ออร์บิทัลที่มีระดับพลังงานต่ำขึ้น จากข้อมูลข้างต้น การจัดอิเล็กตรอนในสถานะพื้นและสถานะกระตุ้นของอะตอมที่มีกลางข้อใดถูกต้อง | {
"A": "สถานะพื้น =1s² 2p⁶ 3s สถานะกระตุ้น =1s² 2s² 2p⁶ 3s² ",
"B": " สถานะพื้น = 1s² 2s² สถานะกระตุ้น =1s² 2s² 3s¹ 3p⁵ 4s¹",
"C": "สถานะพื้น =[Ar] 3d¹ 4s² สถานะกระตุ้น =1s² 2s² 3s² ",
"D": "สถานะพื้น =1s² 2s² 2p⁶ 3s² สถานะกระตุ้น = 1s² 2s² 2p⁶ 3s² 3p⁵ 4s¹ ",
"E": "สถานะพื้น =[Ar] 3d¹ 4s¹ สถานะกระตุ้น = 1s² 2s²"
} | D |
3 | ถ้าหากให้ธาตุ A, D และ E เป็นธาตุในตารางธาตุ ซึ่งอะตอมมีการจัดอิเล็กตรอนดังนี้ โดยมีบางธาตุแสดงการจัดอิเล็กตรอนในสถานะกระตุ้น ธาตุ A : 1s² 2s² 2p² ธาตุ D : [Ne]3s² 4s¹ ธาตุ E : [Ar] 4s¹ 3d⁵ ขัอความเกี่ยวกับธาตุ A, D และ E ข้อใดผิด | {
"A": "ธาตุ D และ E เป็นโลหะ",
"B": "ธาตุ E เป็นธาตุแทรนซิซัน ",
"C": "ธาตุ D อยู่ในหมากที่ 4 หมู่ IA",
"D": "สารประกอบออกไซด์ของธาตุ D คือ D₂O₃",
"E": "ธาตุ A มักมีค่าอิเฃ็กโทรเนกาติวิตีสูงกว่า D"
} | C |
3 | ถ้าหากให้ธาตุ A, D และ E เป็นธาตุในตารางธาตุ ซึ่งอะตอมมีการจัดอิเล็กตรอนดังนี้ โดยมีบางธาตุแสดงการจัดอิเล็กตรอนในสถานะกระตุ้น ธาตุ A : 1s² 2s² 2p² ธาตุ D : 1s² 2s² 3s¹ ธาตุ E : [Ar] 4s¹ 3d⁵ขัอความเกี่ยวกับธาตุ A, D และ E ข้อใดผิด | {
"A": "ธาตุ D และ E เป็นโลหะ",
"B": "ธาตุ E เป็นธาตุตามรณรัย ",
"C": "ธาตุ D อยู่ในหมากที่ 4 หมู่ IA",
"D": "สารประกอบออกไซด์ของธาตุ D คือ D₂O₃",
"E": "ธาตุ A มักถ่ายทอดโครงแบบอิเล็กทรอนิกส์ของก๊าซมีตระกูลธาตุ D"
} | C |
4 | โครงสร้างอิเล็กตรอนที่เสถียรที่สุดของกรดไนตริก (HNO₃) มีจำนวนพันธะเดี่ยวทั้งหมด x พันธะคู่ทั้งหมด y พันธะและอิเล็กตรอนอิสระอยู่โดดเดี่ยวทั้งหมด z คู่ ถ้า x, y และ z ข้อใดถูก มีตารางดังนี้: | {
"A": "x=3,y = 1 ,z =7",
"B": "x= 4,y = 0 ,z 9 ",
"C": "x= 3,y = 1 ,z 8 ",
"D": "x= 2,y = 2 ,z 6 ",
"E": "x= 4,y = 0 ,z 8 "
} | A |
5 | ข้อใดเป็นสารที่มีโครงสร้างเรโซแนนซ์จำนวนมากที่สุด โดยจำนวนเวลาเอาแช่อิเล็กตรอนแต่ละอะตอมไม่เกิน 8 | {
"A": "SO₂",
"B": "NO₂",
"C": "CO₂",
"D": "SO₃²⁻",
"E": "CH₃COO⁻"
} | E |
6 | 5.ปฏิกิริยาการเผาไหม้ของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนประกอบไปด้วยสารประกอบไฮโดรคาร์บอน (CₓHᵧ) ดำสมการมีดังนี้**[ CₓHᵧ(g) + O₂(g) rightarrow CO₂(g) + H₂O(g) ... (ยังไม่ดุล) ]ขึ้นปฏิกิริยาการเผาไหม้จะเกี่ยวข้องกับสารประกอบเอง 3 ชนิดคือ 1 mol มีค่าพลังงานการเกิดปฏิกิริยาที่คำนวณจากพลังงานพันธะ ในโมเลกุลที่เกี่ยวข้อง ดังแสดงในตาราง โดยกำหนดให้พันธชนิดเดียวกันกันระหว่างอะตอมคู่เดียวกันในทุกโมเลกุลมีต่าทางพลังงานพันธะเท่ากัน ชนิดสารประกอบไฮโดรคาร์บอน | พลังงานการเกิดปฏิกิริยา (kJ/mol)
ไซโคลเฮกเซน (C6H12) | ΔHX
ไซโคลโพรเพน (C3H6) | ΔHY
เอททีน (C2H4) | ΔHZ
พิจารณาข้อความสัมพันธ์ของพลังงานการเกิดปฏิกิริยาต่อไปนี้:
ก. ΔHX = 2ΔHY
ข. ΔHX = 3ΔHZ
ค. ΔHX - ΔHY = ΔHZ | {
"A": "ก. เท่านั้น",
"B": "ข. เท่านั้น",
"C": "ค. เท่านั้น",
"D": "ก และ ข",
"E": "ข และ ค"
} | A |
7 | ข้อความยืนคำอธิบายสารประกอบหมู่ VIIA นี้ ใดถูกต้อง* | {
"A": "วิธีหนึ่งที่ใช้เตรียมแก๊สคลอรีน คือ แยกสารละลาย NaCl อิ่มตัวด้วยกระแสไฟฟ้า ",
"B": "เมื่อผสมสารละลาย NaCl กับ Na แล้วเติม CCl₄, เขย่าแรงๆจะพบว่าชั้น CCl₄ เป็นสีม่วง",
"C": "เมื่อผสมสารละลายไอโอดีนใน CCl₄ กับสารละลาย KBr ในน้ำ จะสังเกตเห็นสารละลายสีส้มในชั้นของ CCl₄",
"D": "ธาตุหมู่นี้มีค่า EN สูง จึงเกิดสารประกอบไอออนิกกับธาตุกลุ่มอื่น ๆ ยกเว้นกับธาตุหมู่ VIIA ด้วยกัน จะเป็นสารโคเวเลนต์",
"E": "ฟลูออรีนมีค่า E° สูงมาก แสดงเด่นที่สามารถออกซิไดส์สารประกอบฟลูออไรด์ให้เป็นธาตุฟลูออรีนได้ มีเพียงแก๊สคลอรีนเท่านั้น"
} | A |
8 | ธาตุ M, L และ Q มีเลขอะตอมเท่ากับ 22, 28 และ 30 ตามลำดับการเรียงเทียบเลขออกซิเดชันและจำนวนอิเล็กตรอนเดี่ยวของ M, L และ Q ในสารประกอบเชิงซ้อน [M(H(_2)O)(_6)]Cl(_2), K(_2)[LCl(_4)] และ [Q(NH(_3))(_4)]SO(_4) ข้อใดถูกต้อง ตาราง: ในchoice แบ่งออกเป็น * เลขออกซิเดชัน * จำนวนอิเล็กตรอนเดี่ยว | {
"A": "Q < L < M M < L < Q ",
"B": "Q < L < M Q < M < L",
"C": "Q < L < M Q < M < L ",
"D": "L = Q < M M = Q < L",
"E": "L = Q < M Q < M < L"
} | E |
9 | วัตถุก้อนหนึ่งมีไอโซโทปกัมมันตรังสี 2 จำนวน 8.50 mg ครึ่งชีวิตของ Z เท่ากับ 12 ปี ก่อนหน้าย้อนหลังไป 72 ปี วัดถุก้อนนี้นี้ Z ที่อยู่จะเหลือกี่ mg (กำหนดให้ 1 ปีมี 365 วัน) | {
"A": "51",
"B": "136",
"C": "272",
"D": "544",
"E": "1088"
} | D |
10 | ธาตุ G และ T มีเลขอะตอมเท่ากับ 11 และ 25 ตามลำดับ สมบัติของธาตุหรือสารประกอบของธาตุคู่ดังกล่าวข้อใดถูกต้อง | {
"A": "ธาตุ T ทำปฏิกิริยากับน้ำอย่างรุนแรง เกิดแก๊สไฮโดรเจน",
"B": "ธาตุ G รวมตัวกับธาตุ T ได้สารประกอบไอออนิกที่มีสูตรเป็น GT",
"C": "ธาตุ T นำไฟฟ้าได้และมีเลขออกซิเดชันได้หลายค่าเมื่อเกิดสารประกอบชนิดต่าง ๆ",
"D": "เมื่อผสมสารละลายของสารประกอบคลอไรด์ของธาตุ G กับ Na₂CO₃ จะเกิดตะกอนสีขาวเกิดขึ้น",
"E": "ธาตุ G ทำปฏิกิริยากับแก๊สคลอรีน ได้ของแข็งสีขาว ซึ่งละลายน้ำได้และสารละลายมีสมบัติเป็นเบส"
} | C |
11 | ถ้าการผลิตยาสีฟันฟลูออไรด์ทำโดยการเติมแคลเซียมฟลูออไรด์เพื่อให้ได้ปริมาณฟลูออไรด์ตามที่ต้องการ ในยาสีฟันหลอดหนึ่งที่ระบุว่ามีฟลูออไรด์ 500 ppm และในหลอดนั้นมียาสีฟัน 50.0 g จะมีปริมาณแคลเซียมฟลูออไรด์อยู่กี่มิลลิกรัม | {
"A": "1.03",
"B": "25.0",
"C": "51.3",
"D": "103",
"E": "205"
} | C |
12 | การผลิตทองแดงทำได้โดยใช้วิธีการถลุงที่แร่ชนิดต่างๆ ที่มีทองแดงเป็นองค์ประกอบ สมมุติว่านักลงทุนการผลิตทองแดงคิดว่าต้นทุนสินแร่ที่ต้องใช้ซื้อสินแร่เท่ากับในการผลิตทองแดง 1 kg ที่มีราคาต้นทุนต่ำที่สุด ควรเลือกซื้อสินแร่ที่มีสารประกอบของแร่ชนิดใด กำหนดให้ต้นทุนแร่ทุกชนิดมีราคาเดียวกันต่อโลกรัมเท่ากัน และในสินแร่แต่ละก้อนมีสารประกอบทองแดงเพียงชนิดเดียวในปริมาณร้อยละโดยมวลเท่ากัน | {
"A": "Cu2S (159 g/mol)",
"B": "CuSO4 (159.5 g/mol)",
"C": "CuFeS2 (183.5 g/mol)",
"D": "Cu₂CO₃(OH)₂ (221 g/mol)",
"E": "Cu₃(CO₃)₂(OH)₂ (344.5 g/mol)"
} | A |
13 | สารประกอบชนิดหนึ่งประกอบด้วยธาตุ X, Y และ Z มีจำนวนธาตุ X 2 mol เกิดปฏิกิริยาการสลายตัวได้ XY 2 mol และ Z2 3 mol สารประกอบนี้มีอัตราส่วนโดยโมลของ X:Y:Z เป็นเท่าใด | {
"A": "1 : 1 : 3",
"B": "1 : 2 : 3",
"C": "2 : 1 : 3",
"D": "2 : 2 : 3",
"E": "4 : 2 : 3"
} | A |
14 | พิจารณาปฏิกิริยาทางเคมีดังสมการต่อไปนี้
| ปฏิกิริยาเคมี | สมการเคมี (ยังไม่ดุล) |
| --- | --- |
| ก | S₈(s) + O₂(g) → SO₂(g) |
| ข | H₂(g) + O₂(g) → H₂O(g) |
| ค | HOBr(g) + HBr(g) → H₂O(g) + Br₂(g) |
| ง | CO₂(g) + H₂(g) + C(s) → CH₃OH(g) |
ที่ภาวะเดียวกัน ปฏิกิริยาเคมีในข้อใดมีปริมาณรวมของแก๊สที่ทำปฏิกิริยาเท่ากับปริมาตรรวมของแก๊สที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริยา | {
"A": "ก และ ข",
"B": "ก และ ค",
"C": "ข และ ค",
"D": "ข และ ง",
"E": "ค และ ง"
} | B |
15 | โลหะชนิดหนึ่ง 10.0 mol ทำปฏิกิริยากับแก๊สออกซิเจนในบรรยากาศอย่างสมบูรณ์ได้ออกไซด์ที่พบในธรรมชาติของโลหะนั้น 510 g โลหะชนิดนี้คือธาตุใด (มวลอะตอมของ Mg = 24, Al = 27, Ca = 40, Fe = 56, Cu = 63.5) | {
"A": "Mg",
"B": "Al",
"C": "Ca",
"D": "Fe",
"E": "Cu"
} | B |
16 | ทำการทดลองโดยผสมสารละลาย K₂CrO₄ เข้มข้น 0.10 mol/dm³ ใส่หลอดทดลอง 3 หลอด จากนั้นเติมน้ำและสารละลาย AgNO₃ เข้มข้น 0.20 mol/dm³ ลงไปในแต่ละหลอด ใช้แท่งแก้วคนให้สารละลายผสมกัน ได้ผลิตภัณฑ์ที่เป็น Ag₂CrO₄ และ KNO₃ โดยปริมาณสารของสารละลาย K₂CrO₄ น้ำและสารละลาย AgNO₃ ที่ใส่ในแต่ละหลอดแสดงในตาราง :
| หลอดที่ | ปริมาณ (cm³) |
| --- | --- |
| | สารละลาย K₂CrO₄ | น้ำ | สารละลาย AgNO₃ |
| I | 1.00 | 5.00 | 4.00 |
| II | 3.00 | 3.00 | 4.00 |
| III | 5.00 | 1.00 | 4.00 |
สารก่อตะกอนปริมาณของปฏิกิริยาในแต่ละหลอด ข้อใดถูกต้อง | {
"A": "AgNO₃ | AgNO₃ | AgNO₃",
"B": "ไม่มี | AgNO₃ | K₂CrO₄",
"C": "K₂CrO₄ | K₂CrO₄ | K₂CrO₄",
"D": "K₂CrO₄ | K₂CrO₄ | AgNO₃",
"E": "K₂CrO₄ | ไม่มี | AgNO₃"
} | E |
17 | พิจารณาสมบัติของสารต่อไปนี้:
ผลึกของแข็ง A: จุดหลอมเหลว 119°C, จุดเดือด 445°C, ความแข็งไม่ค่อยแข็ง, ไม่นำไฟฟ้าเมื่อเป็นผลึกของแข็ง, ไม่นำไฟฟ้าเมื่อเป็นของเหลว
ผลึกของแข็ง B: จุดหลอมเหลว 1723°C, จุดเดือด 2230°C, ความแข็งแข็งมาก, ไม่นำไฟฟ้าเมื่อเป็นผลึกของแข็ง, ไม่นำไฟฟ้าเมื่อเป็นของเหลว
ผลึกของแข็ง C: จุดหลอมเหลว 2852°C, จุดเดือด 3600°C, ความแข็งแข็งปานกลาง, ไม่นำไฟฟ้าเมื่อเป็นผลึกของแข็ง, นำไฟฟ้าเมื่อเป็นของเหลว
ผลึกของแข็ง D: จุดหลอมเหลว 1085°C, จุดเดือด 2562°C, ความแข็งนำไฟฟ้า, นำไฟฟ้าเมื่อเป็นผลึกของแข็ง, นำไฟฟ้าเมื่อเป็นของเหลว | {
"A": "B เป็นผลึกโลหะ",
"B": "D เป็นลึกโมเลกุล",
"C": "C เป็นสารไอออนิก",
"D": "A และ B เป็นผลึกโมเลกุล",
"E": "C เป็นผลึกโควาเลนต์ร่างตาข่าย"
} | C |
18 | พิจารณาของเหล่าต่อไปนี้
| ของเหลว | สูตร | มวลต่อโมล (g/mol) |
| --- | --- | --- |
| เอทานอล | C₂H₆O | 46 |
| ไดเอทิลอีเทอร์ | C₄H₁₀OC₂H₅ | 74 |
| เพนทานอล | C₅H₁₂O | 92 |
| กลีเซอรอล | CH₂(OH)CH(OH)CH₂(OH) | 92 |
เมื่อหยดของเหลวแต่ละชนิดลงบนแผ่นกระจก และสังเกตลักษณะของหยดของเหลวทันที หยดของเหลวที่มีรูปรทรงค่อนข้างกลมที่สุด และแบนหรือกระจายออกมากที่สุด คือข้อใด | {
"A": "รูปรทรงค่อนข้างกลมที่สุด:เพนเทน - กลีเซอรอล",
"B": "รูปรทรงค่อนข้างกลมที่สุด:เพนเทน - เอทานอล",
"C": "รูปรทรงค่อนข้างกลมที่สุด:เอทานอล - ไดเอทิลอีเทอร์",
"D": "รูปรทรงค่อนข้างกลมที่สุด:กลีเซอรอล - เพนเทน",
"E": "รูปรทรงค่อนข้างกลมที่สุด:กลีเซอรอล - เอทานอล"
} | D |
19 | เมื่อบรรจุโบรมีน (Br₂) ในภาชนะสุญญากาศขนาด 410 cm³ แล้วทำให้กลายเป็นไอจนหมดที่อุณหภูมิ 27 °C พบว่าภายในภาชนะมีความดันเป็น 228 mmHg ไอโบรมีนในภาชนะดังกล่าวมีกี่กรัม (ค่าคงที่ของแก๊ส R = 0.082 L·atm·mol⁻¹·K⁻¹ = 8.3 J·mol⁻¹·K⁻¹) | {
"A": "7.9 x 10⁻³",
"B": "5.0 x 10⁻³",
"C": "0.40",
"D": "0.80",
"E": "3.8"
} | D |
20 | สารชนิดหนึ่งมีสูตรเอมมลีคูลเป็น CH2 สารนี้ 0.70 กรัม ในสถานะแก๊สที่อุณหภูมิ 27 °C ความดัน 0.82 atm มีปริมาตร 0.300 L สูตรโมเลกุลของสารนี้เป็นดังถัดไปนี้ (ค่าคงที่ของแก๊ส R = 0.082 L·atm·mol⁻¹·K⁻¹ = 8.3 J·mol⁻¹·K⁻¹) | {
"A": "C3H6",
"B": "C2H4",
"C": "C3H10",
"D": "C4H12",
"E": "C2H14"
} | C |
21 | กำหนดให้สาร A ทำปฏิกิริยากลับกับสาร B ให้สาร P ดังสมการเคมีที่สมดุลแล้ว ดังนี้
2A (aq) + B (aq) ⟶ 2P (aq)
ในการทดลองเพื่อศึกษาปฏิกิริยาที่กำหนด โดยติดตามความเข้มข้นของสารที่เวลาต่าง ๆ ดังนี้:
| การทดลองที่ | เวลา (s) | ความเข้มข้น (mol/dm³) |
| --- | --- | --- |
| | | A | B | C |
| 1 | 0 | 0.0300 | 0.0100 | 0 |
| 2 | 100 | 0.0200 | 0.0050 | 0.0100 |
| 3 | 200 | 0.0140 | 0.0040 | 0.0160 |
| 4 | 300 | 0.0100 | 0.0010 | 0.0180 |
| 5 | 400 | 0.0110 | 0.00050 | 0.0190 |
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเป็นช่วงเวลาที่กำหนด ข้อใดถูกต้อง | {
"A": "ช่วงเวลา (S) 0 - 100 | อัตราการเกิดปฏิกิริยา (mol/dm³s) 1.00 × 10^-4",
"B": "ช่วงเวลา (S) 100 - 200 | อัตราการเกิดปฏิกิริยา (mol/dm³s) 3.00 × 10^-5",
"C": "ช่วงเวลา (S) 200 - 300 | อัตราการเกิดปฏิกิริยา (mol/dm³s) 2.00 × 10^-5",
"D": "ช่วงเวลา (S) 300 - 400 | อัตราการเกิดปฏิกิริยา (mol/dm³s) 1.00 × 10^-5",
"E": "ช่วงเวลา (S) 0 - 400 | อัตราการเกิดปฏิกิริยา (mol/dm³s) 1.90 × 10^-3"
} | D |
22 | กิจกรรมแสดงกราฟแสดงการเปลี่ยนแปลงพลังงานในปฏิกิริยาการสลายตัวของสารตั้งต้นเป็นผลิตภัณฑ์ดังนี้
กราฟแสดงให้เห็นพลังงานของสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์ และมีพลังงานกระตุ้นที่ต้องใช้เพื่อให้เกิดปฏิกิริยา แกน y แสดงพลังงานในหน่วย kJ และแกน x แสดงการดำเนินไปของปฏิกิริยา จากกราฟพบว่าพลังงานของสารตั้งต้นสูงกว่าพลังงานของผลิตภัณฑ์แสดงให้เห็นว่าปฏิกิริยานี้เป็นปฏิกิริยาคายพลังงาน
ในการคำนวณพลังงานของสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในการเปลี่ยนแปลงนี้ ให้พิจารณาจากค่าพลังงานในตารางดังต่อไปนี้:
| ประเภทปฏิกิริยา | พลังงานของปฏิกิริยา (kJ) | พลังงานกระตุ้น (kJ) | พลังงานผลิตภัณฑ์ (kJ) |
| --- | --- | --- | --- |
| การย่อยสลาย | 75 | 125 | 200 |
| การสร้าง | 75 | 200 | 125 |
| ดูดพลังงาน | 125 | 225 | 200 |
| คายพลังงาน | 200 | 75 | 125 |
ข้อใดถูกต้อง | {
"A": "1. คายพลังงาน: พลังงานของปฏิกิริยา 75 kJ, พลังงานก่อนเริ่มต้น 125 kJ",
"B": "2. คายพลังงาน: พลังงานของปฏิกิริยา 25 kJ, พลังงานก่อนเริ่มต้น 225 kJ",
"C": "ดูดพลังงาน: พลังงานของปฏิกิริยา 25 kJ, พลังงานก่อนเริ่มต้น 200 kJ",
"D": "ดูดพลังงาน: พลังงานของปฏิกิริยา 75 kJ, พลังงานก่อนเริ่มต้น 125 kJ",
"E": "ดูดพลังงาน: พลังงานของปฏิกิริยา 75 kJ, พลังงานก่อนเริ่มต้น 200 kJ"
} | A |
23 | จากปฏิกิริยา A (aq) + 2B (aq) + 3C (aq) → 4D (aq) + E (aq)
ทำการทดลองที่อุณหภูมิคงที่โดยใช้ความเข้มข้นของสารตั้งต้นต่างกันพบว่า ได้อัตราการเกิดปฏิกิริยาเริ่มต้น (r) ดังในตาราง:
การทดลอง 1: [A] = 0.100 mol/dm³, [B] = 0.100 mol/dm³, [C] = 0.100 mol/dm³, r = 1.00 x 10⁻⁴ mol/dm³·s
การทดลอง 2: [A] = 0.200 mol/dm³, [B] = 0.100 mol/dm³, [C] = 0.100 mol/dm³, r = 1.00 x 10⁻⁴ mol/dm³·s
การทดลอง 3: [A] = 0.300 mol/dm³, [B] = 0.200 mol/dm³, [C] = 0.200 mol/dm³, r = 2.00 x 10⁻⁴ mol/dm³·s
การทดลอง 4: [A] = 0.300 mol/dm³, [B] = 0.200 mol/dm³, [C] = 0.200 mol/dm³, r = 8.00 x 10⁻⁴ mol/dm³·s
การทดลอง 5: [A] = 0.300 mol/dm³, [B] = 0.200 mol/dm³, [C] = 0.200 mol/dm³, r = 8.00 x 10⁻⁴ mol/dm³·s | {
"A": "A, B, C",
"B": "B, C, A",
"C": "C, B, A",
"D": "A, C, B",
"E": "C, A, B"
} | C |
24 | ในการทดลองเพื่อศึกษาอัตราการสลายตัวของสาร A และของสาร B ที่อุณหภูมิเดียวกันพบว่า ความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นของสาร A และของสาร B กับเวลาการเกิดปฏิกิริยาเป็นดังกราฟ
กราฟแสดงความเข้มข้นของสารกับเวลา
แกนแนวยาว (แกน X) คือ เวลา (s) โดยมีค่าเริ่มต้นจาก 0 ถึง 160
แกนแนวตั้ง (แกน Y) คือ ความเข้มข้น (mol/dm³) โดยมีค่าเริ่มต้นจาก 0.0000 ถึง 0.5000
มีกราฟเส้นที่แสดงถึง:
- สาร A (เส้นประจุด)
- สาร B (เส้นทึบ)
กราฟแสดงการลดลงของความเข้มข้นของสาร A และ B เมื่อเวลาผ่านไป
จากกราฟ ตอบรูปที่เกี่ยวกับอัตราการสลายตัวของ A และ B ได้ดังนี้
ก. ตอนเริ่มการทดลอง อัตราการสลายตัวของ A เท่ากับ 5.00 x 10⁻³ mol/dm³s
ข. ในทุกช่วงเวลา อัตราการสลายตัวของสาร A มีค่าน้อยกว่าอัตราการสลายตัวของสาร B
ค. ในช่วงเวลาเดียวกัน อัตราการสลายตัวของ A มีค่าประมาณ 2 เท่าของอัตราการสลายตัวของสาร B
การสรุปใดข้างต้น ข้อใดถูกต้อง | {
"A": "ก เท่านั้น",
"B": "ข เท่านั้น",
"C": "ค เท่านั้น",
"D": "ก และ ข",
"E": "ข และ ค"
} | A |
25 | ปฏิกิริยา 2A (g) + B (s) ⇌ C (g) มีค่าคงที่สมดุลเท่ากับ 1.5 x 10⁻² และ 4.0 x 10⁻³ ที่ 50 °C และ 70 °C ตามลำดับ ถ้าเริ่มต้นการทดลองมีแก๊ส A และสาร B ในภาชนะปิดขนาด 5 dm³ ที่อุณหภูมิ 50 °C ระบบขณะเข้าสู่ภาวะสมดุลมีช่วงเวลาผ่านไป 5 นาที พิจารณาข้อความเกี่ยวกับความเข้มข้นของแก๊ส A ([A]) และแก๊ส C ([C]) ต่อไปนี้:
ก. [A] ที่เวลา 3 นาทีมีค่ามากกว่าที่เวลา 6 นาที
ข. [C] ที่เวลา 6 นาทีมีค่ามากกว่าที่เวลา 10 นาที
ค. [A] ณ ภาวะสมดุล เมื่อคงที่ปริมาตรที่เป็น 1 dm³ มีค่ามากกว่าในภาชนะ 5 dm³
ง. ถ้าเพิ่มการทดลองเดิมที่เริ่มที่อุณหภูมิ 70 °C ณ ภาวะสมดุลจะมีค่ามากกว่าที่อุณหภูมิ 50 °C | {
"A": "ก. เท่านั้น",
"B": "ค. เท่านั้น",
"C": "ก. และ ข.",
"D": "ก. และ ค.",
"E": "ข. และ ง."
} | D |
26 | จากสมการเคมีและค่าคงที่สมดุลต่อไปนี้
2Ag (s) + H₂O₂ (aq) + 2Cl⁻ (aq) ⇌ 2AgCl (s) + 2OH⁻ (aq) (K₁)
NH₃ (aq) + H₂O (l) ⇌ NH₄OH (aq) (K₂)
AgCl (s) + 2NH₃ (aq) ⇌ [Ag(NH₃)₂]⁺ (aq) + Cl⁻ (aq) (K₃)
คำถามที่สมดุลของปฏิกิริยา
Ag (s) + 1/2 H₂O₂ (aq) + 2NH₄OH (aq) ⇌ [Ag(NH₃)₂]⁺ (aq) + 2H₂O (l) + OH⁻ (aq)
เป็นดังข้อใด | {
"A": "(K₁K₃) / (2K₂)",
"B": "(K₁¹/²K₃) / (K₂²)",
"C": "(K₁K₃) / (2K₂²)",
"D": "(K₁¹/²) / (2K₂K₃)",
"E": "K₁¹/² + (1 / K₂²) + K₃"
} | B |
27 | ที่อุณหภูมิ 30 °C ปฏิกิริยา H₂ (g) + I₂ (g) ⇌ 2HI (g) มีค่าคงที่สมดุล K = 9 ถ้าเริ่มต้นมีแก๊ส H₂ 1.0 mol และ I₂ 1.0 mol ในภาชนะปริมาตร 50 dm³ และปล่อยให้ปฏิกิริยาดำเนินไปจนเข้าสู่ภาวะสมดุล ความเข้มข้นของ HI ณ ภาวะสมดุลมีค่าเท่าใดในหน่วย mol/dm³ | {
"A": "0.012",
"B": "0.015",
"C": "0.024",
"D": "0.75",
"E": "1.2"
} | C |
28 | พิจารณาปฏิกิริยาที่เกิดภาวะสมดุลต่อไปนี้
ก. 2O₃ (g) ⇌ 3O₂ (g)
ข. N₂O₄ (g) ⇌ 2NO₂ (g)
ค. H₂ (g) + I₂ (g) ⇌ 2HI (g)
ง. 2NO (g) + Cl₂ (g) ⇌ 2NOCl (g)
จ. H₂O (l) + CO₂ (g) ⇌ H₂CO₃ (aq)
ฉ. Cu (s) + 2Ag⁺ (aq) ⇌ Cu²⁺ (aq) + 2Ag (s)
ช. Pb(NO₃)₂ (aq) + 2KI (aq) ⇌ PbI₂ (s) + 2KNO₃ (aq)
ปฏิกิริยาที่ปริมาณของผลิตภัณฑ์ไม่เปลี่ยนแปลงเมื่อเพิ่มความดันให้กับระบบ เป็นดังข้อใด | {
"A": "ก ข และ ค",
"B": "ก ข และ ง",
"C": "ค ข และ ช",
"D": "ง ฉ และ จ",
"E": "จ ฉ และ ช"
} | C |
29 | ตามกฎปฏิกิริยาเบรินสเตด-ลาวรี โมเลกุลหรือไอออนทุกชนิดในข้อใดเป็นเบส เมื่อทำปฏิกิริยากับน้ำ | {
"A": "F⁻ , HClO , HCO₃⁻",
"B": "S²⁻ , H₂O , HPO₄²⁻",
"C": "HS⁻ , CN⁻ , H₂PO₄⁻",
"D": "SO₄²⁻ , NH₄⁺ , PO₄³⁻",
"E": "NH₃ , CO₃²⁻ , HCOO⁻"
} | E |
30 | กำหนดให้ตัวอย่างของการแตกตัวของกรดอ่อนมอนอไพโพรติก HA, HB และ HC เป็นดังนี้
| สารละลายกรดอ่อน | ความเข้มข้น (mol/dm³) | ร้อยละของการแตกตัว |
| --- | --- | --- |
| HA | 0.10 | 1.0 |
| HB | 0.20 | 0.50 |
| HC | 1.0 | 0.10 |
ข้อความต่อไปนี้ ข้อใดผิด | {
"A": "กรด HA มีความแรงมากที่สุด",
"B": "สารละลายกรด HA, HB และ HC มี pH เท่ากัน",
"C": "ค่าการแตกตัวของกรด HB น้อยกว่าค่าของกรด HC",
"D": "เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น สารละลายที่สามารถเพิ่มความเข้มข้นของ H₃O⁺ เพิ่มขึ้น",
"E": "สารละลายกรด HA เข้มข้น 0.20 mol/dm³ มีร้อยละของการแตกตัวน้อยกว่า 1.0"
} | C |
31 | พิจารณาสารละลายเข้มข้น 0.10 mol/dm³ ของสารต่อไปนี้: HBr , HNO₂ , NaNO₃ , K⁺ , NH₄Cl , KF
ข้อใดเรียงลำดับค่าสารละลายตามค่า pH จากน้อยไปมากได้ถูกต้อง (กำหนดให้ Ka ของ HNO₂ = 4.5 x 10⁻⁴, Ka ของ NH₄⁺ = 6.0 x 10⁻¹⁰) | {
"A": "HBr , HNO₂ , NaNO₃ , K⁺ , NH₄Cl , KF",
"B": "HBr , NH₄Cl , HNO₂ , KF , NaNO₃ , K⁺",
"C": "KF , NaNO₃ , NH₄Cl , HNO₂ , HBr",
"D": "HNO₂ , HBr , NaNO₃ , NH₄Cl , K⁺ , KF",
"E": "NH₄Cl , HNO₂ , HBr , NaNO₃ , KF"
} | A |
33 | นำยาลดกรดหนึ่งเม็ด ซึ่งประกอบด้วยแมกนีเซียมไฮดรอกไซด์ (Mg(OH)₂) 250 mg ใส่ในสารละลายกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 0.10 mol/dm³ ปริมาตร 120 cm³ เกิดปฏิกิริยาได้สาร A และ B ดังสมการ:
Mg(OH)₂ + 2HCl ⇌ A + 2B
พิจารณาข้อความต่อไปนี้:
ก. สาร A คือ แมกนีเซียมคลอไรด์ และสาร B คือ น้ำ
ข. จำนวนโมลของ HCl ในสารละลายกรดไฮโดรคลอริกที่ใช้คือ 0.012 mol
ค. จำนวนโมลของ Mg(OH)₂ ที่เกิดปฏิกิริยากับกรดเท่ากับกรดไฮโดรคลอริกคือ 0.0043 mol
ง. เมื่อสิ้นสุดสมดุลอีกครั้ง สารละลายผสมมีค่า pH เท่ากับ 7 | {
"A": "ก และ ข เท่านั้น",
"B": "ก และ ค เท่านั้น",
"C": "ข และ ง เท่านั้น",
"D": "ง เท่านั้น",
"E": "ก, ข และ ง"
} | A |
34 | สารละลายผสมต่อไปนี้ประกอบด้วยสาร 2 ชนิดที่มีความเข้มข้นในสารละลายผสมเท่ากัน:
| สารละลายผสม | สารชนิดที่ 1 | สารชนิดที่ 2 |
| --- | --- | --- |
| I | H₂SO₃, (Kₐ = 1.2 × 10⁻²) | NaHSO₃ |
| II | H₂CO₃, (Kₐ = 4 × 10⁻⁷) | NaHCO₃ |
| III | NaHCO₃, (Kₐ = 5.0 × 10⁻¹¹) | Na₂CO₃ |
| IV | NaH₂PO₄, (Kₐ = 6.0 × 10⁻⁸) | Na₂HPO₄ |
| V | C₆H₅COOH (Kₐ = 6.4 × 10⁻⁵) | C₆H₅COONa |
การเปรียบเทียบค่า pH ของสารละลายผสมข้อใดถูกต้อง | {
"A": "I > V > IV",
"B": "II > IV > I",
"C": "III > II > V",
"D": "IV > I > III",
"E": "V > III > II"
} | C |
35 | พิจารณาปฏิกิริยาต่อไปนี้ในสารละลายกรด
a MnO₄⁻ (aq) + b NO (g) + c H⁺ (aq) → d Mn²⁺ (aq) + e NO₃⁻ (aq) + f H₂O (l)
โดย a, b, c, d, e และ f เป็นเลขสัมประสิทธิ์จำนวนเต็มบวกที่มีค่าน้อยที่สุดที่ทำให้สามารถดุล ข้อใดถูกต้อง | {
"A": "b = 3",
"B": "c = 4",
"C": "d + f = 7",
"D": "a + c = b",
"E": "ผลรวมสัมประสิทธิ์ทั้งหมด = 18"
} | B |
36 | เมื่อพุ่มแผ่นโลหะที่ได้ทำความสะอาดพื้นผิวแล้วลงในสารละลายไอออนของโลหะอีกชนิดหนึ่ง ได้ผลการทดลองดังนี้:
1. การทดลอง I: แผ่นโลหะ Zn ในสารละลาย Fe²⁺ -> ผลการทดลอง: มีโลหะ Fe เกาะที่ผิว Zn
2. การทดลอง II: แผ่นโลหะ Ni ในสารละลาย Sn²⁺ -> ผลการทดลอง: มีโลหะ Sn เกาะที่ผิว Ni
3. การทดลอง III: แผ่นโลหะ Fe ในสารละลาย Ni²⁺ -> ผลการทดลอง: โลหะ Ni เกาะที่ผิว Fe
4. การทดลอง IV: แผ่นโลหะ Al ในสารละลาย Zn²⁺ -> ผลการทดลอง: มีโลหะ Zn เกาะที่ผิว Al
5. การทดลอง V: แผ่นโลหะ Fe ในสารละลาย Al³⁺ -> ผลการทดลอง: ไม่เกิดการเปลี่ยนแปลง ข้อใดเรียงลำดับศักยภาพการยอมให้อิเล็กตรอนที่ผิวโลหะถูกต้อง | {
"A": "Zn > Fe > Sn > Ni > Al",
"B": "Al > Zn > Fe > Ni > Sn",
"C": "Zn > Al > Fe > Sn > Ni",
"D": "Sn > Ni > Fe > Zn > Al",
"E": "Al > Fe > Zn > Sn > Ni"
} | B |
38 | ถ้าค่อยๆชาร์จเซลล์และครึ่งเซลล์ Pt(s) | H2(g, 1 atm) | H+(aq, 2 mol/dm3) Pt(s) | H2(g, 1 atm) | H+(aq, 0.1 mol/dm3) เข้าด้วยกัน ให้กระบวนจรพิจารณาผลที่ได้ต่อไปนี้ ก. จำนวน H+ เข้มข้น 2 mol/dm3 เป็นบวกเคลไหว ข. เซลล์ไฟฟ้าที่ได้เป็นเซลล์ความเข้มข้นชนิดหนึ่ง ค. อิเล็กตรอนเคลื่อนไหวจากด้านที่ H+ เข้มข้น 2 mol/dm3 ไปยังด้านที่ H+ เข้มข้น 0.1 mol/dm3 ง. ค่าเซลล์ไฟฟ้ามาตรฐานของเซลล์มีค่ามากกว่าศูนย์ | {
"A": "ก และ ง",
"B": "ข และ ง",
"C": "ก ข และ ค",
"D": "ก และ ข",
"E": "ข และ ค"
} | D |
37 | กำหนดค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของครึ่งเซลล์ดังกล่าวที่ 298 K:
Cu²⁺ (aq) + 2e⁻ → Cu (s) (E^0 = +0.34 V)
Ag⁺ (aq) + e⁻ → Ag (s) (E^0 = +0.80 V)
ถ้านำครึ่งเซลล์ที่มีแผ่นทองแดงจุ่มในสารละลาย CuSO₄ มาต่อกับครึ่งเซลล์ที่มีแผ่นเงินจุ่มในสารละลาย AgNO₃ ให้เป็นเซลล์ไฟฟ้าเคมี ข้อสรุปใดถูกต้อง:
1. ตัวออกซิไดซ์คือ Ag(s)
2. มวลของโลหะ Cu จะเพิ่มขึ้น
3. แผนภาพเซลล์ที่เขียนได้ดังนี้: Cu (s) | Cu²⁺ (aq) || Ag⁺ (aq) | Ag (s)
4. ปฏิกิริยารวมของเซลล์ที่เกิดคือ Cu²⁺ (aq) + 2Ag (s) → Cu (s) + 2Ag⁺ (aq)
5. เซลล์ไฟฟ้าที่ได้เป็นเซลล์อิเล็กโทรไลต์ มีศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของเซลล์เท่ากับ +0.46 V | {
"A": "ตัวออกซิไดซ์คือ Ag(s)",
"B": "มวลของโลหะ Cu จะเพิ่มขึ้น",
"C": "แผนภาพเซลล์ที่เขียนได้ดังนี้: Cu (s) | Cu²⁺ (aq) || Ag⁺ (aq) | Ag (s)\n",
"D": "ปฏิกิริยารวมของเซลล์ที่เกิดคือ Cu²⁺ (aq) + 2Ag (s) → Cu (s) + 2Ag⁺ (aq)\n",
"E": "เซลล์ไฟฟ้าที่ได้เป็นเซลล์อิเล็กโทรไลต์ มีศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของเซลล์เท่ากับ +0.46 V"
} | C |
39 | กการผลิตโลหะอะลูมิเนียมในอุตสาหกรรม ใช้วิธีอิเล็กโทรลิซิสของแร่บอกไซต์หลอมเหลว โดยผสมแร่ไครโอไลต์ (Na₃AlF₆) เพื่อช่วยให้หลอมเหลวง่ายขึ้น และแยกไฟฟ้าเป็นก้อนโลหะ พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. เกิดแก๊ส F₂ ที่ขั้วแคโทด
ข. เกิดแก๊ส O₂ ที่ขั้วแอโนด
ค. ที่ขั้วแอโนดเกิด CO₂ เกิดขึ้นด้วย
ง. ถ้า Al₂O₃ ถูกแยกสายไป 1 mol ต้องใช้อิเล็กตรอนจากแหล่งกำเนิดไฟฟ้า 6 mol
ข้อความใดถูกต้อง | {
"A": "ก และ ง",
"B": "ก และ ค",
"C": "ข และ ง",
"D": "ข และ ค เท่านั้น",
"E": "ค และ ง เท่านั้น"
} | C |
40 | พิจารณาสมบัติของแก้ว 3 ชนิดดังนี้:
| ชนิดของแก้ว | สมบัติของแก้ว |
| --- | --- |
| ก | ทนการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิได้ดี ทนสารเคมี ใช้ทำเครื่องแก้วในห้องปฏิบัติการ |
| ข | ยอมให้แสงขาวผ่าน แต่ดูดรังสีอัลตราไวโอเลต ใช้ทำแก้วน้ำ ขวดน้ำ กระจกแผ่น|
| ค | ตะกั่วเป็นองค์ประกอบหนึ่ง มีดัชนีการหักเหแสงสูง ใช้ทำเครื่องใช้ เครื่องประดับ |
ข้อใดระบุชนิดของแก้ว ก ข และ ค ได้ถูกต้องตามลำดับ | {
"A": "แก้วคริสตัล, แก้วโซดาไลม์, แก้วโบโรซิลิเกต ",
"B": "แก้วโซดาไลม์, แก้วบอโรซิลิเกต, แก้วคริสตัล ",
"C": "แก้วคริสตัล, แก้วโบโรซิลิเกต, แก้ววิริศิลิกตัด",
"D": "แก้วโบโรซิลิเกต, แก้วคริสตัล, แก้วโซดาไลม์",
"E": "แก้วโบโรซิลิเกต, แก้วโซดาไลม์, แก้วคริสตัล "
} | E |
41 | สมการเคมีในข้อใดเกี่ยวข้องกับการผลิตสารฟอกขาว | {
"A": "2NaHCO₃(s) ⟶ Na₂CO₃(s) + CO₂(g) + H₂O(g)",
"B": "Ca(OH)₂(aq) + 2NH₄Cl(aq) ⟶ CaCl₂(s) + 2NH₃(g) + 2H₂O(l)",
"C": "2Ca(OH)₂(aq) + 2Cl₂(g) ⟶ Ca(OCl)₂(s) + CaCl₂(aq) + 2H₂O(l)",
"D": "CaF₂ + 3Ca₃(PO₄)₂(s) + 14H₃PO₄(aq) ⟶ 10 Ca(H₂PO₄)₂(s) + 2HF(aq)",
"E": "CO₂(g) + Na⁺(aq) + Cl⁻(aq) + NH₃(aq) + H₂O(l) ⟶ NaHCO₃(s) + NH₄⁺(aq) + Cl⁻(aq)"
} | C |
42 | พิจารณาสูตรโครงสร้างของสารอินทรีย์แล้วการเขียนชื่อ (โดยไม่ระบุ cis- หรือ trans-) ของสารอินทรีย์ที่กำหนดให้ต่อไปนี้:
| สูตรโครงสร้าง | การเรียกชื่อ |
| --- | --- |
| ก. (โครงสร้างทางเคมีของสารอินทรีย์) | 1,1-ไดเมทิล-3-บิวทีน |
| ข. (โครงสร้างทางเคมีของสารอินทรีย์) | 2,5-ไดเมทิลเฮกเซน |
| ค. (โครงสร้างทางเคมีของสารอินทรีย์) | 4-เมทิล-2-เฮกไทน์ |
| ง. (โครงสร้างทางเคมีของสารอินทรีย์) | 2,5-ไดเมทิล-3-เฮปไทน์ |
การเรียกชื่อสารตามสูตรโครงสร้างที่กำหนด ข้อใดถูกต้องตามระบบ IUPAC | {
"A": "ก และ ข",
"B": "ก และ ค",
"C": "ข และ ค",
"D": "ข และ ง",
"E": "ค และ ง"
} | E |
43 | สารอินทรีย์ชนิดหนึ่ง มีสูตรโครงสร้างดังแสดง
(แสดงภาพโครงสร้างทางเคมี)
[OH]
[H₃C - CH - CH₃]
ข้อใดไม่ใช่สมบัติของสารนี้ | {
"A": "ละลายน้ำได้ดี",
"B": "เกิดพันธะไฮโดรเจนกับน้ำได้",
"C": "มีจุดเดือดต่ำกว่าเมทอกซีมีเทน",
"D": "เป็นไอโซเมอร์ของ 1-โพรพานอล",
"E": "เกิดปฏิกิริยาย่อยสลายอิพิทกับกับกรดคาร์บอกซิลิกได้"
} | C |
44 | จากสูตรโครงสร้างของสารต่อไปนี้
(แสดงภาพโครงสร้างทางเคมี 5 ชนิด)
**เอทิลเบนซีน**
**ยูจีนอล**
**พาราเซตามอล**
**น้ำมันระกำ**
**การบูร**
ข้อใดผิด | {
"A": "เอทิลเบนซีนไม่สามารถฟอกจางสีโบรมีน",
"B": "ยูจีนอลสามารถฟอกจางสีโบรมีนได้ในที่มืด",
"C": "การบูรและน้ำมันระกำมีกลุ่มฟังก์ชั่นเดียวกันคือหมู่คาร์บอลนิล",
"D": "ผลิตภัณฑ์ที่มาจากปฏิกิริยาไฮโดรซิสของน้ำมันระกำคือเมทานอล",
"E": "ผลิตภัณฑ์ที่มาจากปฏิกิริยาไฮโดรซิสของพาราเซตามอลคือกรดแอซีติก"
} | A |
45 | สารชนิดหนึ่งมีสูตรโมเลกุล CₓHᵧOₓ เมื่อเข้าสารที่ 1 mol ไปเผาไหม้อย่างสมบูรณ์ในอากาศ คาร์บอนไดออกไซด์ 4 mol และน้ำ 5 mol สารนี้มีสูตรโครงสร้างที่เป็นแอลกอฮอล์ได้ทั้งหมดกี่แบบ | {
"A": "1 แบบ",
"B": "2 แบบ",
"C": "3 แบบ",
"D": "4 แบบ",
"E": "มากกว่า 4 แบบ"
} | D |
46 | จากโครงสร้างพอลิเมอร์ต่อไปนี้ พอลิเมอร์ดังกล่าวชี้ถึงหลากสารที่ได้จากมอนอเมอร์ใด และปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอร์เป็นแบบใดมอนอเมอร์
(แสดงภาพโครงสร้างทางเคมีของพอลิเมอร์)
มอนอเมอร์ ปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอร์ | {
"A": "H₃C-C-O-C-CH=CH₂ แบบควบแน่น",
"B": "H₃C-C-O-C-CH=CH₂ แบบเติม",
"C": "H₃C-C-O-O-CH=CH₂ แบบควบแน่น",
"D": "H₃C-C-O-CH=CH₂ แบบเติม",
"E": "H₃C-C-O-O-CH=CH₂ แบบเติม"
} | D |
47 | พิจารณาข้อความต่อไปนี้:
ก. ก๊อโรเจนเป็นสารประกอบอินทรีย์สำคัญที่พบในหินน้ำมัน
ข. ปิโตรเลียมมีปริมาณซัลเฟอร์และไนโตรเจนออกไซด์มากกว่าแก๊สไฮโดรเจน
ค. การเพิ่มค่าออกเทน ETBE ในน้ำมันไร้สารตะกั่วมักพิจารณาเป็นอีเทอร์
ง. anodic protection เป็นหนึ่งในวิธีที่นิยมใช้ป้องกันการผุกร่อนของท่อส่งแคตารธรรมชาติ
จ. น้ำมันดิบบางชนิดมีสารประกอบซัลเฟอร์อยู่ต่ำและมีกำมะถันปนอยู่เล็กน้อยเรียกว่า sweet crude oil
ข้อใดถูกต้อง | {
"A": "ก และ ค",
"B": "ก และ ง",
"C": "ข และ ค",
"D": "ข และ ง",
"E": "ค และ ง"
} | A |
1 | อโซโทปไม่เสถียรของ Na-24 สลายตัวเป็น Mg-24 โดยมีครึ่งชีวิต 15 ชั่วโมง ถ้าวาง Na-24 มวล 50.00 กรัม ไว้นาน 45 ชั่วโมง จะเกิด Mg-24 ขึ้นกี่กรัม และแผ่รังสีชนิดใด กำหนดให้อะตอมของ Na = 11 และ Mg = 12 | {
"A": "Mg-24: 6.25, รังสี: แกมมา",
"B": "Mg-24: 6.25, รังสี: บีตา",
"C": "Mg-24: 43.75, รังสี: แอลฟา",
"D": "Mg-24: 43.75, รังสี: แกมมา",
"E": "Mg-24: 43.75, รังสี: บีตา"
} | D |
2 | AD และ E เป็นสัญลักษณ์ของโลหะมิตรและกึ่งโลหะมิตรซึ่งถูกจัดอยู่ในความเดียวกันในตารางธาตุ โดยธาตุประกอบของไอ้ดีคือ A และ D และธาตุประกอบเคลอร์ไอด์ของ E มีสมบัติดังแสดงในตาราง:
สารประกอบ | จุดหลอมเหลว C | จุดเดือด C | สมบัติคงทนเป็นคอมเมื่อเป็นสารละลายในน้ำ
A₂O₃ | 2,054 | 2,980 | ไม่ละลายน้ำ
DO | 801 | 1,465 | เบส
ECl₃ | 803 | 1,760 | กลาม
ข้อใดไม่ถูกต้อง | {
"A": "ธาตุ E มี EN น้อยกว่าธาตุ D",
"B": "ธาตุ D มี EA มากกว่าธาตุ A",
"C": "ธาตุ A มีความเป็นโลหะมากที่สุดในตาราง",
"D": "ผล A₂O₃, DO, ECl₃ เป็นธาตุประกอบไอออนิก",
"E": "จำนวนผลผลิตของการผลิตจากธาตุ D น้อยกว่าธาตุ A อยู่ 1 ลิตร"
} | ฺB |
3 | X, Y, Z เป็นสัญลักษณ์ของโลหะมิตรของธาตุที่มีเลขอะตอม 31, 34, และ 37 ตามลำดับ พิจารณาข้อความต่อไปนี้:
ก. ธาตุ X, Y, Z อยู่ในหมวดเดียวกัน
ข. จำนวนเลขอะตอมอิเล็กตรอนของธาตุ Z > Y > X
ค. ธาตุ Z เป็นธาตุกลุ่ม s ส่วนธาตุ X และ Y เป็นธาตุกลุ่ม p
ข้อความใดถูกต้อง | {
"A": "ก เท่านั้น",
"B": "ข เท่านั้น",
"C": "ค เท่านั้น",
"D": "ก และ ข",
"E": "ข และ ค"
} | C |
4 | กำหนดให้
| ชนิดของพลังงาน | ค่าพลังงาน (kJ/mol) |
| --- | --- |
| พลังงานแยกพันธะของ NH₄NO₃ | 647 |
| พลังงานไฮเดรตของ NH₄⁺ | 307 |
| พลังงานไฮเดรตของ NO₃⁻ | 314 |
ถ้าเติมแอมโมเนียมไนเตรต (NH₄NO₃) จำนวน 1 โมลลงในสารละลายน้ำ เมื่อเกิดสัมผัสกระบวนการจะรู้สึกอย่างไรและปริมาณพลังงานของการละลายนั้นเป็นเท่าใด | {
"A": "รู้สึกเย็น และปริมาณพลังงานของการละลายที่เท่ากับ 26 kJ",
"B": "รู้สึกเย็น และปริมาณพลังงานของการละลายที่เท่ากับ 621 kJ",
"C": "รู้สึกเย็น และปริมาณพลังงานของการละลายที่เท่ากับ 1,268 kJ",
"D": "รู้สึกร้อน และปริมาณพลังงานของการละลายที่เท่ากับ 26 kJ",
"E": "รู้สึกร้อน และปริมาณพลังงานของการละลายที่เท่ากับ 621 kJ"
} | A |
5 | ถ้าลิขสิทธิ์ควบคุมอิเล็กตรอนเดี่ยวออกจากอะตอม Xe ในโมเลกุล XeF₄ จำนวน 1 คู่ ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงรูปทรงโมเลกุลสู่รูปทรงใหม่ รูปต่างเดิมและรูปทรงใหม่ของโมเลกุล XeF₄ ตามทฤษฎี VSEPR ข้อใดถูกต้อง กำหนดให้เลขอะตอมของ F = 9 และ Xe = 54 | {
"A": "ทรงสี่หน้าโค้งเดียว → สีเหลี่ยมแบนยาว",
"B": "ทรงสี่หน้าโค้งเดียว → ทรงสี่หน้า",
"C": "ทรงสี่หน้า → ทรงสี่หน้าผืนผ้า",
"D": "สีเหลี่ยมแบนยาว → ทรงสี่หน้า",
"E": "สีเหลี่ยมแบนยาว → ทรงสี่หน้าด้านเทียง"
} | E |
6 | กำหนดพลังงานไอออไนเซชันลำดับที่ 1 ถึง 8 (ในหน่วยเมกะจูลต่อโมล) ของธาตุสมมติ 4 ธาตุ ดังนี้
| ธาตุ | IE₁ | IE₂ | IE₃ | IE₄ | IE₅ | IE₆ | IE₇ | IE₈ |
| --- | --- | --- | --- | --- | --- | --- | --- | --- |
| W | 1.3 | 2.3 | 3.3 | 4.5 | 9.4 | 11.0 | 22.3 | 33.4 |
| X | 1.7 | 3.2 | 3.6 | 4.8 | 5.3 | 10.6 | 21.5 | - |
| Y | 1.0 | 2.0 | 3.4 | 5.8 | 7.6 | 11.5 | 29.8 | - |
| Z | 1.0 | 2.0 | 3.4 | 4.8 | 6.3 | 8.5 | 27.1 | 31.7 |
ข้อใดไม่ถูกต้อง | {
"A": "ZW₄ มีรูปทรงโมเลกุลเป็นสี่เหลี่ยมแบนราบ",
"B": "มุมพันธะ X − Z − X ของ ZX₃ กว้างกว่ามุม ZX₄ กว้างกว่าของ ZX₄²⁻",
"C": "สารประกอบ ZX₂ เป็นมีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวที่อะตอมกลงจำนวหนึ่งคุ่",
"D": "สารประกอบ YX₂ เป็นโมเลกุลขั้วที่ไม่มีขั้ว ยึดเหนี่ยวกันด้วยแรงแผ่กระจายลอนดอนเท่านั้น",
"E": "ธานุต X และ Z อยู่ในหมู่เดียวกัน แต่เวเลนซ์อิเล็กตรอนของธาตุ Z อยู่ในระดับพลังงานหลักที่สูงกว่า"
} | A |
7 | สารประกอบชนิดหนึ่งของธาตุสมมติ A มีสูตรเคมีคือ H₁₀A₂O₅ หากสารประกอบนี้มีธาตุออกซิเจนอยู่ร้อยละ 50 โดยมวล ธาตุ A มีมวลต่อโมลกี่กรัมต่อโมล | {
"A": "35.0",
"B": "40.0",
"C": "50.0",
"D": "70.0",
"E": "80.0"
} | A |
8 | การคำนวณการถลุงเหล็กมีขั้นตอนดังนี้:
1. (C(s) + O_2(g)
ightarrow CO(g))
2. (Fe_2O_3(s) + CO(g)
ightarrow Fe(s) + CO_2(g))
สมการยังไม่ดุล หากต้องการเหล็ก 1.0 โมล ถ่านต้องใช้แก๊ซออกซิเจนอย่างน้อยกี่โมง | {
"A": "0.50",
"B": "0.75",
"C": "1.0",
"D": "1.3",
"E": "1.5"
} | B |
9 | แอลกอฮอล์สเปรย์มีวิธีการเตรียมดังต่อไปนี้:
1. เทเอทานอล 92% v/v ปริมาตร 200.0 มิลลิลิตร ลงในบีกเกอร์
2. เติมไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ 3% v/v ปริมาตร 10.0 มิลลิลิตร กลีเซอริน 98% v/v ปริมาตร 7.0 มิลลิลิตร และน้ำมันหอมระเหย 2-3 หยด ลงในบีกเกอร์เดียวกันแล้วคน จนละลายเป็นเนื้อเดียวกัน จากนั้นใส่จุกกำหนดปริมาตรขนาด 250.0 มิลลิลิตร และเติมน้ำกลั่นให้ถึงขีดบอกปริมาตรจนเข้ากันเป็นเนื้อเดียว ทำแอลกอฮอล์สเปรย์ได้เป็นกี่โมลาร์ กำหนดให้ความหนาแน่นของเอทานอลบริสุทธิ์เท่ากับ 0.800 กรัมต่อมิลลิลิตร | {
"A": "3.20",
"B": "4.00",
"C": "12.0",
"D": "16.0",
"E": "20.0"
} | C |
10 | ไอติมหวานเย็นมีอัตราส่วนโดยมวลของน้ำตาลกลูโคส C₆H₁₂O₆ ต่อน้ำเท่ากับ 1:3 ไอติมหวานเย็นนี้มีจุดเยือกแข็งที่องศาเซลเซียส กำหนดให้ K_f ของน้ำ = 1.8 C/m | {
"A": "-0.25",
"B": "-0.33",
"C": "-0.60",
"D": "-2.5",
"E": "-3.3"
} | E |
11 | ปูนขาว (CaO) ผลิตได้จากการเผาหินปูน (CaCO₃) ดังสมการเคมี
CaCO₃(s) → CaO(s) + CO₂(g)
เมื่อเผาหินปูนในปริมาณหนึ่ง แบ่งของแข็งมวล 2.56 กรัม มาวิเคราะห์พบว่ามีแคลเซียมเป็นองค์ประกอบ 1.20 กรัม ของแข็งนี้มี CaO อยู่ร้อยละโดยมวลเท่าใด | {
"A": "21.9",
"B": "33.3",
"C": "46.9",
"D": "65.6",
"E": "78.1"
} | D |
12 | นำโลหะสังกะสี 19.5 กรัม ใส่ลงในสารละลายซิลเวอร์ไนเตรต 0.400 โมลาร์ ปริมาตร 1.00 ลิตร พบว่ามีโลหะเงินเกิดขึ้น 17.28 กรัม และเกิดปฏิกิริยาดังสมการเคมี
Zn(s) + AgNO₃(aq) → Ag(s) + Zn(NO₃)₂(aq)
สมการยังไม่ดุล ผลได้ร้อยละของโลหะเงินที่ได้เป็นเท่าใด | {
"A": "20.0",
"B": "25.4",
"C": "26.7",
"D": "40.0",
"E": "53.3"
} | D |
13 | สารประกอบหรือไอออนของแมงกานีส (Mn) ในข้อใดทำหน้าที่เป็นตัวรีดิวซ์ | {
"A": "MnCO₃ + 2H⁺ → Mn²⁺ + H₂O + CO₂",
"B": "5BiO₃⁻ + 2Mn²⁺ + 14H⁺ + 2MnO₄⁻ → 5Bi₃⁺ + 7H₂O",
"C": "MnO₂ + H₂O₂ + 2H⁺ → Mn²⁺ + 2H₂O + O₂",
"D": "2Cu⁺ + MnO₄²⁻ + 4H₂O₂ → 2Cu²⁺ + Mn²⁺ + 8OH⁻",
"E": "2MnO₄⁻ + 6I⁻ + 4H₂O → 2MnO₂ + 3I₂ + 8OH⁻"
} | B |
14 | พิจารณาตารางต่อไปนี้:
| ปฏิกิริยาครึ่งเซลล์รีดักชัน | E(V) |
| --- | --- |
| Ni²⁺(aq) + 2e⁻ → Ni(s) | -0.25 |
| Fe²⁺(aq) + 2e⁻ → Fe(s) | -0.44 |
| Cr³⁺(aq) + 3e⁻ → Cr(s) | -0.74 |
| Zn²⁺(aq) + 2e⁻ → Zn(s) | -0.76 |
| Al³⁺(aq) + 3e⁻ → Al(s) | -1.66 |
วิธีการใดใช้ป้องกันการผุกร่อนของเหล็กได้ดีที่สุด | {
"A": "ชุบเหล็กด้วยสังกะสี",
"B": "ชุบเหล็กด้วยโครเมียม",
"C": "ทาสีน้ำมันลงบนแท่นเหล็ก",
"D": "นำลวดนิกเกิลมาพับรอบแผ่นเหล็ก",
"E": "นำลวดอลูมิเนียมมาพับรอบแผ่นเหล็ก"
} | D |
15 | เมื่อทำการดูดเทียม 4 ครั้ง โดยในสารละลายแต่ละตัวที่มีความเข้มข้น 1 โมล/ลิตร โดยใช้ตารางต่อไปนี้:
| โลหะ | สารละลายไอออน (1 M) |
| --- | --- | --- | --- | --- |
| | A | B | C | D |
| A | / | | | |
| B | / | / | | |
| C | | / | / | |
| D | | | / | / |
รูปแบบใดในตารางที่ระบุไว้ว่าค่าใดเท่ากับอะไรจงเลือกตามลำดับที่ถูกต้อง | {
"A": "BCAD",
"B": "BCDA",
"C": "CBDA",
"D": "DACB",
"E": "DABC"
} | A |
1 | พิจารณาข้อมูลของธาตุสมมติ Q และ R ต่อไปนี้: ไอออน Q²- มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเหมือนก๊าซมีสกุลที่อยู่ในคาบที่ 3 และธาตุ R มีจำนวนอิเล็กตรอนใน 3p ออร์บิทัล 5 อิเล็กตรอน ข้อใดถูกต้อง | {
"A": "ธาตุ R อยู่ในคาบที่ 3 หมู่ VA",
"B": "ขนาดของอะตอม R มีขนาดใหญ่กว่าอะตอม Q",
"C": "ขนาดของไอออน R⁻ มีขนาดใหญ่กว่าไอออน Q²-",
"D": "ธาตุ Q มีจำนวนอิเล็กตรอนใน 3p ออร์บิทัล 6 อิเล็กตรอน",
"E": "พลังงานไอออไนเซชันลำดับที่ 1 ของธาตุ R มีค่ามากกว่าธาตุ Q"
} | E |
2 | ^24NaCl เป็นสารประกอบโซเดียมอยู่ในรูปของ Na-24 เท่านั้น ซึ่ง Na-24 สลายตัวให้รังสีบีตา และมีครึ่งชีวิต 15 ชั่วโมง ถ้าละลาย ^24NaCl 5.95 กรัม ในน้ำจนอิ่มตัวได้สารละลาย 25.00 มิลลิลิตร แล้วนำสารละลายไปใช้ 20.00 มิลลิลิตร หากตั้งสารละลายที่เหลือไว้ 30 ชั่วโมง สารละลายนี้จะมีไอออน ^24Na^+ จำนวนกี่กรัม กำหนดให้ มวลต่อโมล ^24NaCl = 59.5 กรัมต่อโมล | {
"A": "0.0600",
"B": "0.120",
"C": "0.240",
"D": "0.300",
"E": "0.600"
} | B |
4 | ธาตุสมมติ A และ E อยู่ตำแหน่งเดียวกันในคาบที่ 3 สารประกอบคลอไรด์ของธาตุ A มีสูตรเคมีเป็น ACl₂ และ ACl₄ ซึ่งทั้งคู่เป็นโมเลกุลมีขั้ว สารประกอบคลอไรด์ของธาตุ E มีสูตรเคมีเป็น ECl₃ ที่เป็นโมเลกุลมีขั้ว และ ECl₅ ที่เป็นโมเลกุลไม่มีขั้ว ตามทฤษฎี VSEPR ข้อใดไม่ถูกต้อง | {
"A": "ACl₂ มีรูปทรงโมเลกุลเป็นทรงสี่หน้าแบนย่อ",
"B": "ECl₃ มีรูปทรงโมเลกุลเป็นพีระมิดฐานสามเหลี่ยม",
"C": "ACl₄ มีจำนวนอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวที่อะตอมกลางเท่ากับ ECl₃",
"D": "มุมพันธะ C-A-Cl ใน ACl₂ จับมุมได้ใหญ่กว่ามุมพันธะ Cl-E-Cl ใน ECl₃",
"E": "มุมพันธะที่แกนคู่สุดของ Cl-A-Cl ใน ACl₄ และ Cl-E-Cl ใน ECl₅ มีค่าน้อยกว่า 109.5°"
} | D |
5 | ถ้าผสมสารละลาย A และ B จนเกิดปฏิกิริยาพอดีกัน ได้ตะกอนสีเขียวของ C และสารละลาย D จากนั้นกรองตะกอน C ออกจากสารละลาย D เสร็จ แล้วเติมกรด HNO3 ลงบนตะกอน C จะเกิดฟองแก๊ส X และเมื่อเติมสารละลาย AgNO3 ลงในสารละลาย D จะเกิดตะกอนสีเหลือง Y สารละลาย A และ B คือสารในข้อใด | {
"A": "CaBr2, KCl",
"B": "CaCl2, K2CO3",
"C": "CuBr2, K2CO3",
"D": "CuCO3, KBr",
"E": "Cu(NO3)2, K2CO3"
} | C |
6 | เครื่องดื่มชนิดหนึ่ง เตรียมได้จากสารให้ความหวาน X มวล 3.04 กรัม ละลายในน้ำ 50.0 กรัม โดยเครื่องดื่มนี้มีจุดเยือกแข็งเท่ากับ -0.744 องศาเซลเซียส สารให้ความหวาน X เป็นสารในข้อใด กำหนดให้ สาร X เป็นสารที่ระเหยยากและไม่แตกตัวเป็นไอออนเมื่อละลายในน้ำ ค่า Kf ของน้ำ เท่ากับ 1.86 องศาเซลเซียสต่อโมแลล | {
"A": "อิริทริทอล มวลโมเลกุล 122",
"B": "ไซลิทอล มวลโมเลกุล 152",
"C": "กลูโคว มวลโมเลกุล 180",
"D": "แอสปาแตม มวลโมเลกุล 240",
"E": "ซูโครส มวลโมเลกุล 342"
} | B |
7 | ซิลิคอนคาร์โบด์ (SIC) ผลิตได้จากทรายหรือซิลิคอนไดออกไซด์ ทำปฏิกิริยากับคาร์บอนมากเกินพอที่อุณหภูมิสูง ได้ผลิตภัณฑ์เป็นซิลิคอนกับคาร์บอนมอนอกไซด์ จากนั้นซิลิคอนที่เกิดขึ้นจะทำปฏิกิริยาต่อกับคาร์บอนที่เหลืออยู่ ได้ผลิตภัณฑ์เป็นซิลิคอนคาร์ไบด์ หากเริ่มต้นใช้ซิลิคอนไดออกไซด์ 6.00 x 10^3 กิโลกรัม จะต้องใช้คาร์บอนอย่างน้อยที่สุดกี่กิโลกรัม จึงจะเพียงพอสำหรับเปลี่ยนซิลิคอนไดออกไซด์ทั้งหมดเป็นซิลิคอนคาร์ไบด์ กำหนดให้ มวลต่อโมลของซิลิคอนไดออกไซด์ เท่ากับ 60.0 กรัมต่อโมล | {
"A": "1.20 x 10^3",
"B": "2.40 x 10^3",
"C": "3.60 x 10^3",
"D": "2.40 x 10^6",
"E": "3.60 x 10^6"
} | C |
8 | สารประกอบ Mg2SiO4 ทำปฏิกิริยากับ CO2, ได้ดังสมการเคมี Mg2SiO4 + CO2 -> MgCO3 + SiO2 (สมการยังไม่ดุล) ถ้า Mg2SiO4 ทำปฏิกิริยากับ CO2 ในอากาศที่ประกอบด้วยแก๊ส CO2 ร้อยละ 0.100 โดยมวล และอากาศมีความหนาแน่น 1.00 กรัมต่อลิตร หากต้องการให้แก๊ส CO2 ทั้งหมดที่มีอยู่ในอากาศ 88.0 ลิตร เกิดปฏิกิริยาเป็นผลิตภัณฑ์ จะต้องใช้ Mg2SiO4 อย่างน้อยกี่กรัม กำหนดให้ ในกระบวนการนี้ Mg2SiO4 กับ CO2 ทำปฏิกิริยาระหว่างกันเท่านั้น มวลต่อโมลของ Mg2SiO4 เท่ากับ 140.0 กรัมต่อโมล | {
"A": "0.140",
"B": "0.280",
"C": "0.560",
"D": "14.0",
"E": "28.0"
} | A |
9 | ปฏิกิริยาระหว่างสารสมมติ X2 และ Y2 ได้สารผลิตภัณฑ์เพียงชนิดเดียว เมื่อทำการทดลองพบว่าความเข้มข้นของ X2 และ Y2 ที่เวลาต่างๆ เป็นดังตาราง และที่เวลา 5.0 วินาที ความเข้มข้นของผลิตภัณฑ์เท่ากับ 4.00 โมลาร์
ตาราง:
เวลา (s): 0.0, 5.0, 10.0, 15.0, 20.0
[X2] (M): 10.00, 6.00, 4.00, 3.00, 2.50
[Y2] (M): 4.00, 2.00, 1.00, 0.50, 0.25
พิจารณาข้อความต่อไปนี้:
ก. อัตราการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นเฉลี่ยในช่วงเวลา 0.0 - 10.0 วินาที ของ Y2 เท่ากับ 0.300 โมลาร์ต่อวินาที
ข. ความเข้มข้นของผลิตภัณฑ์ที่เวลา 10.0 วินาที เท่ากับ 6.00 โมลาร์
ค. สูตรโมเลกุลของผลิตภัณฑ์ คือ XY2 | {
"A": "ก. เท่านั้น",
"B": "ข. เท่านั้น",
"C": "ก. และ ข. เท่านั้น",
"D": "ก. และ ค. เท่านั้น",
"E": "ข. และ ค. เท่านั้น"
} | C |
10 | เมื่อวิตามินซีทำปฏิกิริยาเคมีกับออกซิเจนและน้ำ จะเกิดการสลายตัวให้กรด 2,3-ไดตีโตกูโลนิก หากทำการทดลองเพื่อศึกษาอัตราการสลายตัวของวิตามินซีในน้ำแอปเปิล โดยเติมวิตามินและน้ำตาลลงในน้ำแอปเปิลที่เหมือนกัน และมีปริมาตรรวมเป็นร้อยละ 75 ของขวดที่บรรจุ ซึ่งเป็นขวดปิดที่มีปริมาตรเท่ากัน โดยมีปริมาณวิตามินซี น้ำตาล เส้นผ่านศูนย์กลางของขวด อุณหภูมิ และเวลาที่ใช้ (เวลาที่ปริมาณวิตามินซีเหลือครึ่งหนึ่งของปริมาณที่เติม) ในแต่ละการทดลอง เป็นดังตาราง:
การทดลองที่: 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7
มวลของวิตามินซี (mg): 200, 200, 200, 200, 400, 200, 100
มวลของน้ำตาลที่เพิ่ม (g): 0.0, 0.0, 10.0, 10.0, 10.0, 0.0, 10.0
เส้นผ่านศูนย์กลางของขวด (cm): 5.0, 5.0, 5.0, 5.0, 5.0, 8.0, 8.0
อุณหภูมิ (°C): 28, 8, 28, 8, 8, 28, 8
เวลาที่ใช้ (h): 4.2, 4.8, 4.6, 5.6, 5.2,X , Y
พิจารณาข้อความต่อไปนี้:
ก. เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น อัตราการเกิดกรด 2,3-ไดตีโตกูโลนิก จะเพิ่มมากขึ้น
ข. การเติมน้ำตาลทำให้วิตามินซีสลายตัวเร็วขึ้น
ค. X < 4.2
ง. Y < 5.6 | {
"A": "ก. และ ค. เท่านั้น",
"B": "ข. และ ค. เท่านั้น",
"C": "ค. และ ง. เท่านั้น",
"D": "ก. ข. และ ง. เท่านั้น",
"E": "ก. ค. และ ง. เท่านั้น"
} | A |
11 | เติมลมยางรถยนต์ A และ B ด้วยอากาศ ที่อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส จนอ่านค่าความดันได้ 30.0 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว จากนั้น อุณหภูมิในอากาศลดต่ำลงอย่างรวดเร็วจนเหลือ 12 องศาเซลเซียส พิจารณาข้อความต่อไปนี้:
ก. ที่อุณหภูมิ 12 องศาเซลเซียส อ่านค่าความดันของยางรถยนต์ A ได้ 28.5 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว
ข. หากยางรถยนต์ B มีปริมาตรเป็น 2 เท่าของยางรถยนต์ A ความดันที่อุณหภูมิ 12 องศาเซลเซียส ของยางรถยนต์ B จะเป็นครึ่งหนึ่งของยางรถยนต์ A
ค. หากเติมลมยางรถยนต์ A ด้วยแก๊สไนโตรเจนแทนอากาศ ความดันที่อุณหภูมิ 12 องศาเซลเซียส ในยางที่เติมแก๊สไนโตรเจนจะมีค่าเท่ากันกับเมื่อเติมอากาศ
กำหนดให้ แก๊สที่เกี่ยวข้องเป็นแก๊สอุดมคติ และยางรถยนต์ A และ B เป็นระบบปิด ข้อความใดถูกต้อง | {
"A": "ก. เท่านั้น",
"B": "ข. เท่านั้น",
"C": "ค. เท่านั้น",
"D": "ก. และ ค. เท่านั้น",
"E": "ข. และ ค. เท่านั้น"
} | D |
12 | แก๊ส X สามารถสังเคราะห์ได้จากแก๊ส Y ทำปฏิกิริยากับแก๊ส SCl2 ดังสมการเคมี: 2Y + SCl2 -> X หากอัตราการแพร่ผ่านของแก๊ส Y เป็น 1.92 เท่าของแก๊ส SCl2 แก๊ส X ควรเป็นแก๊สในข้อใด กำหนดให้ มวลต่อโมลของ SCl2 เท่ากับ 103 กรัมต่อโมล | {
"A": "C2H4 มวลต่อโมเลกุล 28",
"B": "C4H9 มวลต่อโมเลกุล 56",
"C": "C2H4Cl2S มวลต่อโมเลกุล 131",
"D": "C4H8Cl2S มวลต่อโมเลกุล 159",
"E": "C8H16Cl2S มวลต่อโมเลกุล 215"
} | D |
13 | ไดไนโตรเจนเพนทอกไซด์ (N₂O₅) เป็นของแข็งที่สลายตัวได้แก๊สไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO₂) และแก๊สออกซิเจน (O₂) ถ้าเก็บ N₂O₅ 6.0 โมล ในภาชนะปิดขนาด 10.0 ลิตร ที่อุณหภูมิหนึ่งพบว่า ที่สมดุลจะเหลือสารนี้ 5.0 โมล ถ้าสมการเคมีของปฏิกิริยาการสลายตัวของ N₂O₅ ที่ดุลแล้วมีเลขสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มที่น้อยที่สุด ค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยาเคมีดังกล่าวมีค่าเท่าใด | {
"A": "8.0 x 10⁻⁵",
"B": "3.2 x 10⁴",
"C": "0.010",
"D": "0.32",
"E": "8.0"
} | A |
14 | เมื่อบรรจุแก๊ส A₂ ความดัน 1.00 บรรยากาศ และ B₂ ความดัน 1.00 บรรยากาศ ที่อุณหภูมิ T เคลวิน จะเกิดปฏิกิริยา ดังสมการเคมี
A₂(g) + B₂(g) ⇌ 2AB(g)
พบว่าที่สมดุล แก๊ส AB มีความดัน 0.40 บรรยากาศ จากนั้นรบกวนสมดุลโดยการเพิ่มความดันของ A₂ อีก 0.20 บรรยากาศ ถ้าทุกแก๊สในปฏิกิริยาเป็นแก๊สอุดมคติ ที่สมดุลใหม่ ความเข้มข้นของ AB และค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยาในข้อใดถูกต้อง | {
"A": "ความเข้มข้นของ AB มากกว่า 0.40/RT ค่าคงที่สมดุล 0.16",
"B": "ความเข้มข้นของ AB มากกว่า 0.40/RT ค่าคงที่สมดุล 0.25",
"C": "ความเข้มข้นของ AB มากกว่า 0.40/RT ค่าคงที่สมดุล 0.44",
"D": "ความเข้มข้นของ AB น้อยกว่า 0.40/RT ค่าคงที่สมดุล 0.25",
"E": "ความเข้มข้นของ AB น้อยกว่า 0.40/RT ค่าคงที่สมดุล 0.44"
} | B |
15 | หินปูน (CaCO₃) สลายตัวภายในภาชนะปิดที่อุณหภูมิสูงได้ปูนขาว (CaO) และแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ดังสมการเคมี:
CaCO₃(s) ⇌ CaO(s) + CO₂(g) ΔH = +178 กิโลจูลต่อโมล
เมื่อปฏิกิริยานี้เข้าสู่สมดุลแล้ว ผลของการกระทำหรือการรบกวนสมดุลในข้อใดถูกต้อง | {
"A": "การบดหินปูนจะทำให้ค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยานี้เพิ่มขึ้น",
"B": "การเติมตัวเร่งปฏิกิริยาจะทำให้เกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้าเพิ่มขึ้น",
"C": "การเพิ่มอุณหภูมิให้ระบบจะทำให้ค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยานี้เพิ่มขึ้น",
"D": "การลดปริมาตรภาชนะจะทำให้ความเข้มข้นของ CO₂ ที่สมดุลใหม่เพิ่มขึ้น",
"E": "การดูดแก๊สบางส่วนออกจะทำให้ความเข้มข้นของ CO₂ ที่สมดุลใหม่เพิ่มขึ้น"
} | C |
17 | สารประกอบอินทรีย์ 3 ชนิด ได้แก่ A B และ C ที่ไม่ทำปฏิกิริยากัน และไม่ทำปฏิกิริยากับน้ำ ทดลองโดยนำน้ำของผสมระหว่าง A B และ C มาผสมกับน้ำ จากนั้นเขย่าแล้วตั้งไว้ 3 นาที เกิดการแยกชั้น โดยในชั้นของสารประกอบอินทรีย์พบสาร B และ C ซึ่งเมื่อนำชั้นของสารประกอบอินทรีย์นี้มาให้ความร้อนที่อุณหภูมิหนึ่งพบว่าสาร B ระเหยออกไปจนเหลือแค่สาร C สาร A B และ C ในข้อใดสามารถให้ผลที่สอดคล้องกับการทดลองข้างต้นได้ | {
"A": "propan-1-ol, octan-1-ol, octane",
"B": "propan-1-ol, octane, octan-1-ol",
"C": "octane, octan-1-ol, propan-1-ol",
"D": "octane, octan-1-ol, propan-1-ol",
"E": "octan-1-ol, octane, propan-1-ol"
} | B |
19 | สาร A เกิดปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสในกรดได้สาร P และสาร Q โดยสาร Q สามารถเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีน้ำเงินเป็นสีแดงได้ สาร P สามารถเตรียมได้จากปฏิกิริยาระหว่างสาร R กับ KMnO₄ และสาร R จำนวน 1 โมล จะเกิดปฏิกิริยาพอดีกับ Br₂ จำนวน 1 โมล ในที่มืด ได้สาร S ดังแผนภาพ: สาร A เมื่อเกิดปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสในกรดจะแตกตัวให้สาร P และสาร Q จากนั้นสาร P จะเกิดปฏิกิริยากับสาร R ที่ทำปฏิกิริยากับ KMnO₄ และสุดท้ายสาร R จะทำปฏิกิริยากับ Br₂ ในที่มืด ให้ผลิตภัณฑ์เป็นสาร S | {
"A": "ถ้าสาร A เกิดปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสในเบส จะยังได้สาร P เป็นผลิตภัณฑ์",
"B": "ถ้านำสาร Q ไปทำปฏิกิริยากับเอมีนที่อุณหภูมิสูงจะได้สารประกอบประเภทเอไมด์",
"C": "ถ้านำ Oxalamide (H₂NOC-CONH₂) มาทำปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสในกรดจะยังได้ผลิตภัณฑ์เป็นสาร Q",
"D": "ปฏิกิริยาระหว่างสาร R กับ KMnO₄ ได้ผลิตภัณฑ์เป็นสาร P และตะกอนสีน้ำตาล",
"E": "สาร S มีสูตรโครงสร้าง คือ BrCH₂CH(CH₃)CH(CH₃)CH₂Br"
} | E |
20 | เมื่อนำไขมันชนิดหนึ่งมาทำปฏิกิริยาทรานส์เอสเทอร์ริฟิเคชันกับเมทานอล ได้ผลิตภัณฑ์เป็นกลีเซอรอลและไบโอดีเซล 2 ชนิด ที่มีสูตรเคมีเป็น C₁₉H₃₈O₂ และ C₁₇H₃₄O₂ ข้อใดเป็นสูตรโครงสร้างที่เป็นไปได้ของไขมันที่ใช้ในปฏิกิริยานี้ | {
"A": "CH₃-(CH₂)₁₄-C(=O)-O-CH₂-CH₂-CH₂-O-C(=O)-(CH₂)₁₆-CH₃",
"B": "CH₃-(CH₂)₁₇-C(=O)-O-CH₂-CH₂-CH₂-O-C(=O)-(CH₂)₁₅-CH₃",
"C": "CH₃-(CH₂)₁₅-C(=O)-O-CH₂-CH-CH₂-O-C(=O)-(CH₂)₁₇-CH₃, O-C(=O)-(CH₂)₁₇-CH₃",
"D": "CH₃-(CH₂)₁₆-C(=O)-O-CH₂-CH-CH₂-O-C(=O)-(CH₂)₁₄-CH₃, O-C(=O)-(CH₂)₁₆-CH₃",
"E": null
} | D |
23 | ในปัจจุบัน บริษัทผลิตรถยนต์ไฟฟ้านิยมใช้แบตเตอรี่ลิเทียมไอออนประเภทที่มี LiFePO₄ เป็นแคโทด เนื่องจากมีต้นทุนการผลิตต่ำและมีความปลอดภัยสูง โดยปฏิกิริยาเคมีขั้นตอนสุดท้ายในการสังเคราะห์แคโทดชนิดนี้ เป็นดังสมการเคมี:
24FePO₄·2H₂O + 12Li₂CO₃ + C₆H₁₂O₆ ⇌ 24LiFePO₄ + 18CO₂ + 54H₂O
ข้อใดระบุตัวรีดิวซ์และตัวออกซิไดส์ของปฏิกิริยาข้างต้นได้ถูกต้อง | {
"A": "C₆H₁₂O₆, Li₂CO₃",
"B": "C₆H₁₂O₆, FePO₄·2H₂O",
"C": "Li₂CO₃, FePO₄·2H₂O",
"D": "FePO₄·2H₂O , Li₂CO₃",
"E": "FePO₄·2H₂O , C₆H₁₂O₆"
} | B |
24 | พิจารณาสมการรีดอกซ์ต่อไปนี้
XeF₆ + OH⁻ → Xe + XeO₆⁴⁻ + F⁻ (สมการยังไม่ดุล)
ดุลสมการโดยวิธีครึ่งปฏิกิริยาในภาวะเบส ให้ได้สมการรีดอกซ์ที่ดุลแล้ว ทุกสารมีเลขสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มที่น้อยที่สุด ซึ่งมีครึ่งปฏิกิริยาที่เกี่ยวข้องดังนี้
ครึ่งปฏิกิริยาที่ 1: XeF₆ → Xe + F⁻
ครึ่งปฏิกิริยาที่ 2: XeF₆ + OH⁻ → XeO₆⁴⁻ + F⁻
ข้อใดไม่ถูกต้อง | {
"A": "ครึ่งปฏิกิริยาที่ 1 เป็นครึ่งปฏิกิริยารีดักชัน",
"B": "XeF₆ ในครึ่งปฏิกิริยาที่ 2 ทำหน้าที่เป็นตัวรีดิวซ์",
"C": "สมการรีดอกซ์ที่ดุลแล้ว มีเลขสัมประสิทธิ์ของ H₂O เท่ากับ 6",
"D": "สมการรีดอกซ์ที่ดุลแล้ว ผลรวมของเลขสัมประสิทธิ์ทั้งหมดเท่ากับ 86",
"E": "สมการรีดอกซ์ที่ดุลแล้ว มีการถ่ายโอนอิเล็กตรอนทั้งหมด 6 อิเล็กตรอน"
} | C |
25 | กำหนดค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของครึ่งเซลล์รีดักชันดังต่อไปนี้ โดย A, D และ G เป็นธาตุสมมติ
2H₂O(l) + 2e⁻ → H₂(g) + 2OH⁻(aq) E° = -0.83 V
O₂(g) + 4H⁺(aq) + 4e⁻ → 2H₂O(l) E° = +1.23 V
A²⁺(aq) + 2e⁻ → A(s) E° = +0.30 V
D⁺(aq) + e⁻ → D(s) E° = -1.10 V
G(s) + 2e⁻ → G²⁻(aq) E° = +1.50 V
หากนำสารละลายผสมที่ประกอบด้วย A²⁺ 1.0 โมลาร์, D⁺ 1.0 โมลาร์ และ G²⁻ 1.0 โมลาร์ ในน้ำไปแยกสลายด้วยไฟฟ้า โดย A²⁺, D⁺ และ G²⁻ ไม่ทำปฏิกิริยากัน ผลิตภัณฑ์ชนิดใดเกิดขึ้นที่แคโทด และต้องใช้แหล่งกำเนิดไฟฟ้าที่มีอีเอ็มเอฟอย่างน้อยเท่าใด | {
"A": "A(s), 0.93 V",
"B": "A(s), 1.20 V",
"C": "D(s), 0.13 V",
"D": "D(s), 0.40 V",
"E": "G(s), 1.20 V"
} | A |
26 | กำหนดค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของครึ่งเซลล์รีดักชัน ดังตาราง
| ปฏิกิริยาครึ่งเซลล์รีดักชัน | E° (V) |
|------------------------------------------|--------|
| Na⁺(aq) + e⁻ → Na(s) | -2.71 |
| Sn²⁺(aq) + 2e⁻ → Sn(s) | -0.14 |
| Ag⁺(aq) + e⁻ → Ag(s) | +0.80 |
| Br₂(l) + 2e⁻ → 2Br⁻(aq) | +1.07 |
| Cl₂(l) + 2e⁻ → 2Cl⁻(aq) | +1.36 |
พิจารณาสารต่อไปนี้:
ก. AgNO₃(aq)
ข. NaNO₃(aq)
ค. Cl₂(g)
ง. SnBr₂(aq)
เมื่อบรรจุสารในภาชนะที่ทำจากดีบุก (Sn) สารใดไม่ทำให้ภาชนะที่ทำจากดีบุกผุกร่อน | {
"A": "ก. เท่านั้น",
"B": "ข. เท่านั้น",
"C": "ก. และ ค. เท่านั้น",
"D": "ข. และ ง. เท่านั้น",
"E": "ข. ค. และ ง. เท่านั้น"
} | D |
27 | ข้อใดเป็นสารที่ไม่สามารถแสดงสมบัติเป็นทั้งคู่กรดและคู่เบสได้ | {
"A": "H₂O",
"B": "HSO₃⁻",
"C": "H₂PO₄⁻",
"D": "HCOO⁻",
"E": "H₃N⁺CH₂COO⁻"
} | D |
28 | กำหนดให้ A, X, และ Z เป็นธาตุสมมติ
HA(aq) + H₂O(l) → A⁻(aq) + H₃O⁺(aq)
HX(aq) + H₂O(l) ⇌ X⁻(aq) + H₃O⁺(aq) Kₐ = 1.0 x 10⁻⁵
Z⁻(aq) + H₂O(l) ⇌ HZ⁻(aq) + OH⁻(aq) K_b = 1.0 x 10⁻⁴
พิจารณาสารละลาย 3 ชนิด ได้แก่:
1. [HZ]A 1.0 โมลาร์
2. [HZ]X 1.0 โมลาร์
3. NaX 1.0 โมลาร์
ข้อใดเรียงลำดับสารละลายข้างต้นที่มี pH จากมากไปน้อยได้ถูกต้อง | {
"A": "[HZ]X, [HZ]A, NaX",
"B": "[HZ]A, [HZ]X, NaX",
"C": "NaX, [HZ]A, [HZ]X",
"D": "[HZ]X, NaX, [HZ]A",
"E": "NaX, [HZ]X, [HZ]A"
} | E |
29 | ปฏิกิริยาสะเทินระหว่างกรดบอริก (H₃BO₃) และสารละลาย NaOH เป็นดังสมการเคมี
H₃BO₃(aq) + NaOH(aq) ⇌ H₂O(l) + NaH₂BO₃(aq)
ถ้าในปฏิกิริยาสะเทินนี้ใช้ NaOH 1.00 โมลาร์ ปริมาตร 70.00 มิลลิลิตร เพื่อทำปฏิกิริยาที่พอดีกันกับกรดบอริก ปริมาตร 30.00 มิลลิลิตร ที่จุดสมมูลนี้จะมี pH เท่าใด
กำหนดให้กรดบอริก มีค่า Kₐ₁ = 7.00 x 10⁻¹⁰ และใช้ค่า Kₐ₁ เท่านั้นในการคำนวณ | {
"A": "2.50",
"B": "4.65",
"C": "9.15",
"D": "9.35",
"E": "11.50"
} | E |
30 | นักเรียนคนหนึ่งทดลองเปรียบเทียบปริมาณน้ำตาลของผลไม้ชนิดต่าง ๆ ตามขั้นตอนดังนี้
I. ชั่งผลไม้ 10.00 กรัม ด้วยเครื่องชั่งทศนิยม 3 ตำแหน่ง
II. ตวงน้ำกลั่นปริมาตร 100.00 มิลลิลิตร ด้วยบีกเกอร์ แล้วเทผสมกับผลไม้ จากนั้นปั่นและกรองด้วยผ้าขาวบาง
III. ตวงสารละลายที่ได้จากขั้นตอนที่ II. ปริมาตร 5.00 มิลลิลิตร ลงในหลอดทดลองด้วยปิเปตต์
IV. เติมสารละลายเบเนดิกต์ปริมาตร 1.00 มิลลิลิตร จากบิวเรตต์ลงไปในหลอดทดลองจากขั้นตอนที่ III. จากนั้นจับเวลาที่ใช้จนกระทั่งมีตะกอนเกิดขึ้น และทดลองซ้ำโดยเปลี่ยนชนิดผลไม้แล้วเปรียบเทียบเวลาที่ใช้ในการตกตะกอน
ขั้นตอนใดเลือกใช้อุปกรณ์วัดปริมาณสารที่ไม่ละเอียดเพียงพอกับข้อมูลที่ต้องการวัด | {
"A": "I. เท่านั้น",
"B": "II. เท่านั้น",
"C": "IV. เท่านั้น",
"D": "I. และ II. เท่านั้น",
"E": "II. และ IV. เท่านั้น"
} | B |
31 | ของเหลวชนิดหนึ่งมีสูตร CₓHᵧO_z โดยมีร้อยละโดยมวลของธาตุคาร์บอนและไฮโดรเจนเท่ากับ 54.54 และ 9.09 ตามลำดับ ถ้านำของเหลวนี้มวล 352.0 กรัม มาทำให้เป็นไอทั้งหมดจะมีปริมาตร 89.60 ลิตร ที่ STP ค่าของ x + y + z เป็นเท่าใด | {
"A": null,
"B": null,
"C": null,
"D": null,
"E": null
} | 14 |
33 | พิจารณาข้อความเกี่ยวกับธาตุสมมติ ᵃₓX และ ᵇₓY ต่อไปนี้
ก. X³⁺ มีจำนวนอิเล็กตรอนเท่ากับจำนวนอิเล็กตรอนของแก๊สมีตระกูลที่มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนอยู่ในระดับพลังงานที่ 3
ข. Y เป็นไอโซโทปของ X โดย Y มีจำนวนโปรตอนเท่ากับจำนวนนิวตรอน
ค่าของ c + d เป็นเท่าใด | {
"A": null,
"B": null,
"C": null,
"D": null,
"E": null
} | 63 |
34 | เตรียมสารละลายสำหรับทำความสะอาดหินปูนที่เกาะบนกระจก 2 ขวด โดยขวดที่ 1 นำสารละลายกรดแอซีติกเข้มข้น 1.00 โมลาร์ ปริมาตร 90.0 มิลลิลิตร มาเติมน้ำจนมีปริมาตร 2.00 ลิตร ถ้าต้องการเตรียมสารละลายขวดที่ 2 ปริมาตร 5.00 ลิตร ให้มีค่า pH เท่ากับขวดที่ 1 โดยใช้สารละลายกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้นร้อยละ 7.30 โดยมวลต่อปริมาตร แทนกรดแอซีติก จะต้องใช้สารละลายกรดไฮโดรคลอริกกี่มิลลิลิตร
กำหนดให้ Kₐ ของกรดแอซีติก = 1.80 x 10⁻⁵
มวลต่อโมลของกรดแอซีติกเท่ากับ 60.0 กรัมต่อโมล
มวลต่อโมลของกรดไฮโดรคลอริกเท่ากับ 36.5 กรัมต่อโมล | {
"A": null,
"B": null,
"C": null,
"D": null,
"E": null
} | 2.25 ML |
35 | แก๊สไนตรัสออกไซด์ (N₂O) เป็นแก๊สที่ใช้ทำวิปครีมสำหรับฉีดบนอาหารหรือเครื่องดื่ม โดยมีขั้นตอนการเตรียมวิปครีมดังนี้
ขั้นที่ 1: เทครีมซึ่งเป็นของเหลวสีขาว 500.0 มิลลิลิตร ลงในกระป๋องเปล่าซึ่งมีปริมาตร 910.5 มิลลิลิตร และปิดฝากระป๋องจนแน่นสนิท
ขั้นที่ 2: เติมแก๊ส N₂O มวล 8.80 กรัม ลงในกระป๋อง
ขั้นที่ 3: เขย่ากระป๋องให้แก๊ส N₂O กับครีมผสมเป็นเนื้อเดียวกัน ได้เป็นวิปครีม
ที่อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส ความดันของแก๊ส N₂O ในกระป๋องวิปครีมเท่ากับกี่บรรยากาศ
กำหนดให้ แก๊ส N₂O ไม่ละลายในครีมและไม่ทำปฏิกิริยากับสารในครีม ขณะทำวิปครีมของเหลวมีปริมาตรไม่เปลี่ยนแปลง | {
"A": null,
"B": null,
"C": null,
"D": null,
"E": null
} | 12 atm |
1 | Student: What do I have to do if I want to withdraw from the course?
Teacher: If you want to (1) ______ the course, you have to go to the College Office. | {
"A": "do",
"B": "drop",
"C": "take",
"D": "attend",
"E": "complete"
} | B |
2 | Tom: Are you going to phone Patricia again?
Peter: (2) _____ I've left five messages for her, and she's never replied. | {
"A": "I haven't.",
"B": "I'd bothered.",
"C": "She doesn't want to.",
"D": "It's really no bother.",
"E": "I can't be bothered."
} | E |
3 | William: Can you come round for a meal tonight?
Pat: Thanks very much. (3) _____ I haven’t met you for a long time. | {
"A": "I doubt it.",
"B": "I’d love to.",
"C": "I wish I were.",
"D": "That looks good.",
"E": "I’m really apologetic."
} | B |
4 | James: What did you think of your brother’s new girlfriend?
Jane: (4) _____ I got on with her very well. | {
"A": "She’s fantastic.",
"B": "She looks awful.",
"C": "She’s lost weight.",
"D": "She’s in her thirties.",
"E": "She has beautiful red hair."
} | A |
5 | Kevin: Hi, Manee. (5) ________
Manee: Hi, I’m great. I’m going to visit my uncle in Songkhla.
Announcement: "Ladies & Gentlemen. Attention please! Train 2637, Hualumpong Express, bound for Hadyai, will leave at 21.30 hours from platform 3."
Manee: I’m sorry, Kevin. (6) ________ I’ll see you later. There is an announcement about your train also. Bye! | {
"A": "How’s it like?",
"B": "How about you?",
"C": "How do you do?",
"D": "How have you been?",
"E": "How long have you been here?"
} | D |
6 | Kevin: Hi, Manee. (5) ________
Manee: Hi, I’m great. I’m going to visit my uncle in Songkhla.
Announcement: "Ladies & Gentlemen. Attention please! Train 2637, Hualumpong Express, bound for Hadyai, will leave at 21.30 hours from platform 3."
Manee: I’m sorry, Kevin. (6) ________ I’ll see you later. There is an announcement about your train also. Bye! | {
"A": "Keep your time.",
"B": "Someone is calling me.",
"C": "You can wait for me here.",
"D": "My train is always delayed.",
"E": "My train is about to leave."
} | E |
7 | *Travel agent:* Hello. Worldwide Travel. Can I help you?.*Harris:* Hello. Good morning. I want to book a ticket to Chiang Mai.Travel agent: (7) _______ .*Harris:* Next Monday. | {
"A": "When will you start from here?",
"B": "When will you buy the ticket?",
"C": "When do you want to travel?",
"D": "When will you collect the ticket?",
"E": "When do you want to come back?"
} | C |
8 | *Harris:* Next Monday. *Travel agent:* Economy or business? *Harris:* (8) _______ *Travel agent:* OK. Please wait. Let me check… Yes. Tickets are | {
"A": "It’s my business.",
"B": "Economy, please.",
"C": "Mind your business.",
"D": "I am a business person.",
"E": "Here’s my business card."
} | B |
9 | *Travel agent:* OK. Please wait. Let me check… Yes. Tickets are available. (9) _______ *Harris:* Please do. How much is for the round trip? *Travel agent:* Just a minute ... That will be Baht 5,600. | {
"A": "May I have your ticket?",
"B": "Shall I buy you a ticket?",
"C": "Shall I reserve your ticket?",
"D": "Do you want to sell the ticket?",
"E": "Do you want to give me your ticket?"
} | C |
End of preview.
README.md exists but content is empty.
Use the Edit dataset card button to edit it.
- Downloads last month
- 31